กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายผดุง ทิพย์พิมล

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-23 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ 2.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร    (กลุ่มเป้าหมายกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 40 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.เป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโดยตรง เช่น คนที่ติดสารเสพติด ไม่ยอมเข้าร่วมโครงการ 2. ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมโครงการอยากให้มีการจัดโครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชน บ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 หรือ โครงการอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องทุกปี 3. วิทยากรที่มาให้การอบรม เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้มีส่วนร่วม

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน ส่วนหนึ่งมีผลจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การเสพสารเสพติดต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลถึงชีวิตในที่สุด โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคมะเร็งชนิดต่างๆ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนที่มีสาเหตุมาจากการเมาแล้วขับ
การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จำเป็นต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยภาครัฐ องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมและตระหนักในการแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นสำคัญ เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนักและสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

    คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านสะพานยาง ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ดังกล่าว จึงเขียนโครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเขาปูน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของคนในชุมชนแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ 2.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร (กลุ่มเป้าหมายกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 40 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
          2. ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ 2.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร (กลุ่มเป้าหมายกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 40 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7)

วันที่ 29 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
  2. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
  2. ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา , สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่าง ๆ วิทยากร นางเจนชญา ชนชอบธรรม ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง โดยมีการอบรมให้ความรู้พร้อมแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม ให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สรุปสาระสำคัญดังนี้ สุราหรือแอลกอฮอล์เป็นสารเสพติดที่มีทั้งคุณและโทษ เมื่อดื่มแล้วจะทำให้เกิดผลต่อระบบประสาทส่วนกลางโดยโทษของสุรานั้นอาจมีตั้งแต่ขั้นเบาไปจนถึงขั้นรุนแรงอย่างเช่น เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด และที่รุนแรงคือหมดสติ ดังนั้นสุราจึงถูกควบคุมทั้งการจำหน่าย และการผลิต จากกฎหมายอย่างเคร่งครัด โทษและผลกระทบจากการดื่มแอลกอฮอล์ต่อวัยวะภายในของร่างกาย ด้านสุขภาพ เป็นสาเหตุหลักในการเสียชีวิต ทั้งผลเสียทั้งในระยะสั้นและระยะสะสม หากดื่มสุราติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนาน (ติดเหล้า) จะส่งผลอย่างแน่นอนกับระบบความจำ ระบบประสาท ระบบเลือด ความดันและที่ส่งผลโดยตรงต่ออวัยวะในร่างกายคือ ตับ พิษภัยจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังส่งผลต่อสมองที่รุนแรงขึ้นหากดื่มตั้งแต่อายุยังน้อย สุราเป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ถ้านาน ๆ ทีดื่มหรือดื่มแต่น้อย ก็ไม่ก่อให้เกิดผลเสียเท่าไหร่นัก แต่หากดื่มหนักหรือดื่มเป็นประจำจนติด ผลที่ตามมาก็คือการทำร้ายสุขภาพไม่ว่าจะเป็นหัวใจ สมอง ระบบประสาท กระเพราะอาหาร ตับ ซึ่งส่งผลอันร้ายแรงให้แก่ชีวิต และสุขภาพของเราได้

บุหรี่ คือ ยาสูบ หรือ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ หมายความว่าผลิตภัณฑ์ที่มีส่วน ประกอบของใบยาสูบหรือพืชนิโคเทียนาทาแบกกุ้ม และให้ความหมายรวมถึงผลิตภัณฑ์อื่นใดที่มีสารนิโคตินเป็นส่วนประกอบ ซึ่งบริโภคด้วยวิธี สูบ ดูด ดม อม เคี้ยวเป่า กิน หรือ พ่นเข้าไป ใน ปาก หรือ จมูก ทา หรือ โดยวิธีอื่นใด เพื่อให้ได้ผลเช่นเดียวกัน สารเสพติด คือ สารใด ๆ ก็ตามที่ไม่ใช่อาหารซึ่งสามารถมีผลกระทบต่อการทำงานของร่างกายและจิตใจยาเสพติดสามารถเปลี่ยนความคิด ความรู้สึก และการกระทำของบุคคลได้ โดยแบ่งตามประเภทการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท สารกระตุ้นประสาท สารกดประสาท ยาหลอนประสาท กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร วิทยากร นายกิตติศักดิ์ นิ่มกาญจนา และทีมงาน จากบริษัทตั้งใจยนตรการ จำกัด สาขาห้วยยอด ได้อบรมให้ความรู้ในการขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร และมีการให้ผู้เข้ารับการอบรมแสดงความคิดเห็น ซักถาม ปัญหาต่าง ๆ สรุปรายละเอียดดังนี้ ความปลอดภัยเป็นสิ่งสำคัญต่อการใช้รถใช้ถนน เนื่องจากเป็นผลดีต่อทั้งตัวผู้ขับขี่และเพื่อนร่วมทางรอบข้าง แต่ทำให้สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์จึงเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ "ความประมาท" และ "การขาดความรู้เรื่องการใช้รถใช้ถนน" น่าจะเป็นสาเหตุหลัก การเป็นนักขับรถที่ดีไม่ใช่จะขับรถเป็นอย่างเดียว ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ วิธีการขับรถยนต์ให้ปลอดภัย 1. การเตรียมความพร้อมรถยนต์เบื้องต้นก่อนการเดินทาง -ตรวจระบบไฟส่องสว่างทั้งหมด -ตรวจสภาพยางยนต์และเช็คลมยาง -ตรวจระบบแตร -ตรวจยางใบปัดน้ำฝน -ระดับน้ำมัน (น้ำมันเครื่อง,น้ำมันเกียร์,น้ำมันเบรก,และน้ำมันพวงมาลัยเพาเวอร์) 2. การเตรียมความพร้อมร่างกายก่อนการเดินทาง ง่วง-ไม่ขับ ดื่ม-ไม่ขับ โทร-ไม่ขับ ไป-กลับปลอดภัย 3.เทคนิคการขับรถยนต์ลงจากทางลาดชัน -ห้ามใช้เกียร์ว่าง -ห้ามเหยียบคลัทช์ -ห้ามดับรถยนต์ -ต้องใช้เกียร์ต่ำ -ขับชิดขอบด้านซ้าย -ให้เสียบสัญญาณเตือนรถที่อาจจะสวนมากรณีทางแคบทางอ้อมเขา -ห้ามแซงขณะขับรถขึ้นลงเขา

ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.เป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโดยตรง เช่น คนที่ติดสารเสพติด ไม่ยอมเข้าร่วมโครงการ 2. ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมโครงการอยากให้มีการจัดโครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชน บ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 หรือ โครงการอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องทุกปี 3. วิทยากรที่มาให้การอบรม เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้มีส่วนร่วม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร (โดยใช้แบบทดสอบความรู้หลังการอบรม)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองจากผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบที่เกิดจากการดื่มสุรา,สูบบุหรี่และเสพสารเสพติดต่างๆ 2.กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้การขับขี่ปลอดภัย ถูกกฎจราจร    (กลุ่มเป้าหมายกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 40 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.เป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโดยตรง เช่น คนที่ติดสารเสพติด ไม่ยอมเข้าร่วมโครงการ 2. ข้อเสนอแนะ ผู้เข้าร่วมโครงการอยากให้มีการจัดโครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชน บ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 หรือ โครงการอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องทุกปี 3. วิทยากรที่มาให้การอบรม เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมได้มีส่วนร่วม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในชุมชนบ้านสะพานยาง หมู่ที่ 7 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1528-2-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายผดุง ทิพย์พิมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด