กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายจีระศักดิ์ นุ่นปาน

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1504-2-03 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1504-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,681.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านท่าบันได เป็นโรงเรียนหนึ่งที่มีความตระหนักเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ การดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ และการบริการรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่นักเรียน ปัจจุบันเด็กเป็นช่วงวัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ได้ง่าย เนื่องจากระบบภูมิคุ้นกันโรคยังไม่สมบูรณ์ เด็กในวัยนี้จึงอาจป่วยเป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย ทั้งโรคไข้หวัด โรคมือเท้าปาก ตาแดง อุจจาระร่วง และรวมไปถึงโรคไข้เลือดออกซึ่งการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและ สุขภาพโดยรวมของเด็ก ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการดูแลรักษา และการปิดโรงเรียนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนของเด็กนักเรียนอื่นๆ เป็นผลให้ต้องมีการปิดโรงเรียนเพื่อการควบคุมโรค นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่ออื่นๆ เช่น ตาแดง อุจจาระร่วง และไข้เลือดออกร่วมด้วย โรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อม ทั้งจากการสัมผัสโดยตรงผ่านการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อ ดูดนิ้ว เลียนิ้วมือต่างๆ หรือการติดต่อทางอ้อมผ่านทางสิ่งของหรือของเล่น การสัมผัสพื้นผิวที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ ทั้งนี้การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการดูแลตนเองในการควบคุมป้องกันโรคของบุคลากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ ย่อมมีส่วนในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคได้ โรงเรียนจึงขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อจัดอบรมโครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพให้กับนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อมนักเรียนรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเสียชีวิตและการแพร่ระบาด
  2. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและดูแลตนเองให้ปลอดจากโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อม
  3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อและกำจัดเหาในนักเรียนผู้หญิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 41
    กลุ่มวัยทำงาน 41
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนและผู้ปกครองปลอดภัยจากโรคติดต่อ     2. นักเรียนและผู้ปกครองได้ความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อมนักเรียนร่วมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด     3. นักเรียนและผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและดูแลตนเองให้ปลอดจากโรค     4. นักเรียนปราศจากโรคติดต่อได้กำจัดเหา     5. นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อมนักเรียนรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเสียชีวิตและการแพร่ระบาด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและดูแลตนเองให้ปลอดจากโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อป้องกันโรคติดต่อและกำจัดเหาในนักเรียนผู้หญิง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 41
    กลุ่มวัยทำงาน 41
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อมนักเรียนรวมทั้งส่งเสริมพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเสียชีวิตและการแพร่ระบาด (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและดูแลตนเองให้ปลอดจากโรคติดต่อที่มีการระบาดเกิดขึ้นได้ทั้งจากการติดต่อโดยตรงและทางอ้อม (3) เพื่อป้องกันโรคติดต่อและกำจัดเหาในนักเรียนผู้หญิง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการโรงเรียนปลอดโรค นักเรียนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 63-L1504-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายจีระศักดิ์ นุ่นปาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด