กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมูหมัด อีอาซา

ชื่อโครงการ โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L8302-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 24 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8302-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 24 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรงหลาย ๆ ประการที่มีผลรายงานวิจัยการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบ หรือการเลิกสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี “วันงดสูบบุหรี่โลก” (World No Tobacco Day) ขึ้นใน วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 เป็นต้นมา โดยในปี พ.ศ.2560 นี้ องค์การอนามัยโลกได้ให้คำขวัญว่า "Tobacco - a threat to development" หรือ “บุหรี่ ภัยคุกคามต่อการพัฒนา” โดยให้ความสำคัญ 1. เพื่อแสดงถึงภัยคุกคามที่ธุรกิจยาสูบมีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของทุกประเทศ รวมถึงสุขภาพเศรษฐกิจและสุขภาวะของประชาชน 2. เพื่อเสนอมาตรการที่รัฐบาลและภาคประชาชนควรจะดำเนินการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และการพัฒนาโดยการเผชิญหน้ากับภาวะวิกฤตที่เกิดจากยาสูบ โดยมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ จัดกิจกรรมควบคุมการบริโภคยาสูบ และรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เพื่อให้การต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง สัมฤทธิผล และนำไปสู่เป้าหมาย “สังคมไทยปลอดบุหรี่” ได้ในที่สุด ประกอบกับช่วงระหว่าง วันที่ 1 - 24 มิถุนายน 2560 ตรงกับเดือนรอมฎอนเป็นเทศกาลถือศีลอดของชาวมุสลิม จะงดการรับประทานอาหารและน้ำดื่มในช่วงเวลากลางวัน เนื่องในโอกาสนี้ ชมรม อสม.นักจัดการสุขภาพ ประเมินว่าสามารถที่จะสร้างกระบวนการขับเคลื่อนกิจกรรมการ ลดละ/เลิกบุหรี่ สร้างความรู้และความตระหนักตลอดจนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มเป้าหมายได้ในช่วงเวลานี้ รวมทั้งกระตุ้นชาวบ้านและเยาวชน ให้แสดงบทบาทของคนรุ่นใหม่อย่างชัดเจน ในการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการผลักดันให้ “ชุมชน ปลอดบุหรี่” อย่างแท้จริงได้ต่อไป ในอนาคตอันใกล้นี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ให้กับประชาชนทั่วไป
  2. 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ได้ตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
  3. 3. เพื่อเชิญชวนประชาชนที่สูบบุหรี่ได้สมัครใจเข้าคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลมะรือโบตก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนและประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
    2. เยาวชนและประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ มีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น จากการเผยแพร่และแนะนำ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
    3. เยาวชนและประชาชนทั่วไป ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ เข้าเยี่ยมชมบูธ และร่วมลงชื่อเข้ารับบริการ คลินิคช่วยเลิกบุหรี่ ไม่น้อยกว่า 100 คน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนมีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมลด ละ การสูบบุหรี่โดยเริ่มต้นในเดือนรอมฎอน มีผู้สมัครใจเข้าคลีนิกช่วยเลิกบุหรี่

     

    500 500

    2. ประชาสัมพันธ์

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนและประชาชนทั่วไปมีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น จากการเผยแพร่และแนะนำ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชาชนมีความตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมลด ละ การสูบบุหรี่โดยเริ่มต้นในเดือนรอมฎอน มีผู้สมัครใจเข้าคลินิกช่วยเลิกบุหรี่

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ให้กับประชาชนทั่วไป
    ตัวชี้วัด : เกิดกิจกรรมการรณรงค์อย่างน้อย 1 กิจกรรม

     

    2 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ได้ตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละการเข้าร่วมในกิจกรรมลดละเลิกของประชาชน

     

    3 3. เพื่อเชิญชวนประชาชนที่สูบบุหรี่ได้สมัครใจเข้าคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลมะรือโบตก
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สนใจสมัครเข้าคลินิกช่วยเลิกบุหรี่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ให้กับประชาชนทั่วไป (2) 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ได้ตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ (3) 3. เพื่อเชิญชวนประชาชนที่สูบบุหรี่ได้สมัครใจเข้าคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลมะรือโบตก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ รอมฎอนนี้ ห่างบุหรี่กัน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L8302-2-8

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูหมัด อีอาซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด