กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ


“ โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน ”

ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมัน กาเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน

ที่อยู่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2496-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจอเบาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2496-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จอเบาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกาย และสมองอย่างรวดเร็วซึ่งเป็นวัยที่ต้องวางรากฐานชีวิตให้มีความพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ภาวะโภชนาการของเด็กทั้งการขาดสารอาหารและได้รับสารอาหารเกินเป็นดัชนีบ่งชี้ที่ดีของการสาธารณสุขที่จะส่งผลเสียทั้งด้านสุขภาพ สติปัญญา การเรียนรู้และการเกิดโรคเรื้อรังเมื่อเป็นผู้ใหญ่ ดังนั้นการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงหากมีแนวโน้มการเจริญเติบโตไม่ดี
จะต้องหาทางแก้ไขและป้องกันเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ในตำบลจอเบาะ พบว่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ มีเด็กที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๙๐ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ จำนวน ๑๑คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๖ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๓.๕๗ ตามลำดับ ซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปีและจากการวิเคราะห์สาเหตุการขาดสารอาหาร พบว่า สาเหตุส่วนใหญ่ ๕ อันดับแรก คือ
๑. เด็กกินอาหารปริมาณน้อยกว่าเด็กวัยเดียวกัน ๒. เด็กชอบกินขนมกรุบกรอบ และกินเกือบทุกวัน ๓. เด็กกินอะไรก็ได้ ขอให้กินอิ่มหรือไม่หิว ๔. เด็กเจ็บป่วยหรือไม่สบายบ่อยๆ เช่นเป็นหวัด ไอ ๕. พ่อ แม่ รายได้น้อย ทำให้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในตำบลจอเบาะยังไม่ดีขึ้นและเป็นปัญหาเรื้อรังมาเป็นระยาเวลานาน ทั้งนี้ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็ก จึงมีนโยบายสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพเด็กแรกเกิด- ๗๒ เดือน โดยการกำหนดตัวชี้วัด คือ ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ดังนั้น เพื่อเป็นการตอบสนองนโยบายและคงไว้ซึ่งการทำงานเพื่อบรรลุตัวชี้วัดดังกล่าว รพ.สต.จอเบาะ จึงได้จัดทำโครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือน ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ขึ้น เพื่อให้เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นและมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ(น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
  2. ๒.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีความรู้เรื่องการดูแลบุตรและสามารถประเมินพัฒนาการตามวัยได้อย่างถูกต้อง
  3. ๓.เพื่อให้เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและ มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
  4. ๔.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีพัฒนาการสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
    ร้อยละ 70 ๒.ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีความรู้เรื่องการดูแลบุตร และสามารถประเมินพัฒนาการตามวัยได้อย่างถูกต้อง ๓.เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ๔.เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
    ร้อยละ 70 ๒.ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีความรู้เรื่องการดูแลบุตร และสามารถประเมินพัฒนาการตามวัยได้อย่างถูกต้อง ๓.เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ๔.เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ(น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) มีความรู้เรื่องการดูแลบุตรและสามารถประเมินพัฒนาการตามวัยได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓.เพื่อให้เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและ มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    4 ๔.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีพัฒนาการสมวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    5
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ(น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (2) ๒.เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)
    มีความรู้เรื่องการดูแลบุตรและสามารถประเมินพัฒนาการตามวัยได้อย่างถูกต้อง (3) ๓.เพื่อให้เด็กแรกเกิด - ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ได้รับการแก้ไขปัญหาและ มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น (4) ๔.เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๗๒ เดือนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)มีพัฒนาการสมวัย (5)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับปรุงแก้ไขภาวะทุพโภชนาการเด็กแรกเกิด-72 เดือน จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2496-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอุสมัน กาเซ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด