กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ ”

ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาดีละฮ์ สาและ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ

ที่อยู่ ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2506-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2506-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บองอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคใช่องปากเป็นปัญหาที่พบในประชากรทุกกลุ่มอายุ แม้เป็นดรคที่ไม่ผลอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่มักเป็นเหตุแรกๆที่ทำให้เกิดความรำคาญ ทั้งยังมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพด้นร่างกายและจิตใจโดยรวมอีกด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่เริ่มต้นเรียนรู้ เด็กที่มีรสุขภาพดี จะสามารถเรียนรู้ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี และเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีอาการปวดฟันบ่อย มักไม่มีสมาธิในการเรียน ขาดเรียนบ่อย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของด็กในอนาคตต่อดป การดำเนินงานบูรณาการงานส่งเสริมป้องกัน และเฝ้าระวังงานทันตสาธารณสุขจึงมีความสำคัญอย่างมากในการลดอัตราการเกิดโรคฟันผุ แม้จะมีการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมและทันตกรรมป้องกันอย่างเป็นรูปธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา ได้แก่ การตรวจสภวะช่วงปาก การเคลือบฟลูออไรด์วานิชการเคลือบหลุมร่งฟัน และการบิการทันตกรรมแบบผสมผสาน (Comprehensive Care) แต่จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของนักเรียนนราธิวาส เมื่อปี 2552 - 2555 พบว่า ภาพรวมทั้งจังหวัด ผลงานยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ปัญหาทันตกรรมในเด็กอายุ 0 - 12 ปี ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอปีการศึกษา 2559 พบว่ามีฟันแท้ผุถึงร้อละ 85.01 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขาพตำบลบองอ ได้เล็งเห็นถึงปัญหา และความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเพื่อลดอัตราการเกิดโรค เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียน ครู และผู้ปครองเด็ก ได้ตระหนักและมีส่วนร่มในการแก้ไขปัญหาทงทันตสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้เด็กนักเรียนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เกิดการขับเคลื่อนสังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัยและปฐมวัย
  3. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีของผู้ปกครองในการดูแลความสะอาดของช่องปากบุตร
  4. เพื่อลดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กก่อนปฐมวัยและวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 442
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดโรงเรียน และศพด. ต้นแบบด้านการส่งเสริมชุมชนสริมสุขภาพช่องปาก
    2. มีการนำข้อมูลพื้นนฐานสุขภาพช่องปากและข้อมูลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากไปใช้ในการเฝ้า, การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาโรคในช่องปากใน้ด็กให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
    3. ชุมชนมีการพัฒนานโยบายและการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพช่องปาก
    4. ประชาชน,ชุมชนตื่นตัว สนใจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่การดูแลสุขภาพช่องปากลูกที่ดีขึ้น
    5. เด็ก 0-12 ปีเข้าถึงบริการทันตกรรม ทั้งด้านการส่งเสริมป้องกันและรักษา ฟื้นฟูเพิ่มขึ้น
    6. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบในเด็ก 0-12 ปี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้เด็กนักเรียนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมแรงฟนและควบคุมการบริโภคหวานใน ศพด. โรงเรียนทุกแห่ง

     

    2 เพื่อสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เกิดการขับเคลื่อนสังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัยและปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : 1. มีคณะกรรมการ มีเครือข่ายหรือทีมสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก มีนโยบายสาธรณะด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2.

     

    3 เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีของผู้ปกครองในการดูแลความสะอาดของช่องปากบุตร
    ตัวชี้วัด : มีการจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแส หนูน้อยฟันดี ในชุมชนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

     

    4 เพื่อลดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กก่อนปฐมวัยและวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลสภาวะสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 3 ปี 5 ปี และ 12 ปี แต่ละกลุ่มอายุไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 12 ปีแปรงฟันสะอาด 3.ร้อยละ 80 ของเด็ก 3 ปี 5 ปี ไม่บริโภคนมเปรี้ยว นมรปรุงแต่ง ลูกอม 4. ร้อยละ 70 ของเด็ก 12 ปี ไม่บริโภคน้ำอัดลม ลูกอม 5. ร้อยละ 50 ของเด็ก 12 ปี ที่มีฟันผุได้รับการรักษาทางทันตกรรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 522
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 442
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากให้เด็กนักเรียนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่าย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เกิดการขับเคลื่อนสังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนปฐมวัยและปฐมวัย (3) เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีของผู้ปกครองในการดูแลความสะอาดของช่องปากบุตร (4) เพื่อลดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กก่อนปฐมวัยและวัยเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กในโรงเรียน เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2506-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปาดีละฮ์ สาและ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด