กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะกอรี เจ๊ะเห็ง

ชื่อโครงการ โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-42 เลขที่ข้อตกลง 41/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤศจิกายน 2563 ถึง 20 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2492-2-42 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤศจิกายน 2563 - 20 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 207,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในขั้นวิกฤต การแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมีการผลิตยาเสพติดทั้งภายในประเทศและมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศจุดอ่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการขยายตัวของปัญหายาเสพติดมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น การแพร่ระบาด ค่านิยมพฤติกรรมเสี่ยงและก้าวไปสู่ปัญหายาเสพติดที่เพิ่มมากขึ้น อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆ ในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราว และการเกิดปัญหาอาชญากรรมอื่นตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
    เนื่องจากการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงที่เป็นเด็กและเยาวชนใสถานศึกษา จึงจัดทำโครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ  แนวทางการป้องกันแก่เด็กและเยาวชน รวมทั้งร่วมเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียนตาดีกาและพื้นที่ตำบลโคกเคียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถป้องกันลูกหลานตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนตาดีกาและพื้นที่ตำบลโคกเคียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด ชี้แจงการจัดค่ายเยาวชน และรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปกครอง จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 4 ชั่วโมง)
  2. จัดค่ายให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดรวมถึงการใช้ชีวิตประจำวันในวิถีมุสลิมแก่นักเรียนตาดีกา จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 20 ชั่วโมง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
  2. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้ามาในพื้นที่ตำบลโคกเคียน นักเรียนตาดีกามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
  3. นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดความรู้ขยายผลไปยังผู้ใกล้ชิดในครอบครัว เพื่อนบ้านและชุมชนใกล้เคียง
  4. ผู้นำศาสนาและครูตาดีกาสามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด ชี้แจงการจัดค่ายเยาวชน และรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปกครอง จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 4 ชั่วโมง)

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 5 รุ่นๆละ 50 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 12,500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 6,250 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด ขนาด 1x3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • วิทยากร 1 คน จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 4 ชั่วโมง
  • อาหารกลางวัน จำนวน 5 รุ่นๆละ 50 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าป้ายไวนิลกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด ขนาด 1x3 เมตร

ผลสรุปกิจกรรม : ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถป้องกันลูกหลานตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 70

 

50 0

2. จัดค่ายให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดรวมถึงการใช้ชีวิตประจำวันในวิถีมุสลิมแก่นักเรียนตาดีกา จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 20 ชั่วโมง)

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าวิทยากรกระบวนการ จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 2 คนๆละ 20 ชั่วโมงๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 100,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 5 รุ่นๆละ 50 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 4 มื้อ เป็นเงิน 50,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ เป็นเงิน 25,000 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ขนาด 1x3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • วิทยากรกระบวนการ จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 2 คนๆละ 20 ชั่วโมง
  • อาหารกลางวัน จำนวน 5 รุ่นๆละ 50 คน จำนวน 4 มื้อ
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 รุ่นๆ ละ 50 คน จำนวน 4 มื้อ
  • ป้ายไวนิลโครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ขนาด 1x3 เมตร

ผลสรุปกิจกรรม : นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 70

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 70
70.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถป้องกันลูกหลานตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถป้องกันลูกหลานตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด ร้อยละ 70
70.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนตาดีกาและพื้นที่ตำบลโคกเคียน
ตัวชี้วัด : ทำให้เกิดความสามัคคีกันและสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนตาดีกาและพื้นที่ตำบลโคกเคียน ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนตาดีกาในตำบลโคกเคียนมีความรู้ และสามารถป้องกันตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถป้องกันลูกหลานตนเองจากพิษภัยของยาเสพติด (3) เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันการแพร่ระบาดและแก้ไขปัญหายาเสพติดในโรงเรียนตาดีกาและพื้นที่ตำบลโคกเคียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด ชี้แจงการจัดค่ายเยาวชน และรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปกครอง จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 4 ชั่วโมง) (2) จัดค่ายให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดรวมถึงการใช้ชีวิตประจำวันในวิถีมุสลิมแก่นักเรียนตาดีกา จำนวน 5 รุ่น (รุ่นละ 20 ชั่วโมง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตาดีการ่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด ประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2492-2-42

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะกอรี เจ๊ะเห็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด