กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป้าหมายของโครงการ -ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 4 หมู่ ๆ ละ จำนวน 10 ราย จำนวน 40 ราย ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด -เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน -เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน -เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์สาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา งบประมาณอนุมัติ  23,000  บาท -งบประมาณเบิกจ่ายจริง  23,000  บาท คิดเป็นร้อยละ 100 บาท -งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 0 บาท ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ผู้ปกครองเด็กไม่มีเวลาทำอาหารเช้าให้เด็ก -การขาดความรู้ที่ถูกต้องของครอบครัวในการเลี้ยงดูและในการจัดอาหารให้แก่เด็กและความเชื้อบางอย่างห้ามกินอาหารบางชนิด -ปัญหาทางเศรษฐกิจ ความจำกัดของครอบครัวที่จะผลิตหรือซื้ออาหาร -การขาดความเอาใจใส่ในการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพตามวัย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กที่ขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กในพื้นที่ตำบลกาหลงได้รับการดูแลไม่ขาดสารอาหารลดลง

 

3 เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์หาสาเหตุของภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา
ตัวชี้วัด : ดูจากความร่วมมือของชุมชนว่าให้ความร่วมมือในการร่วมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน (3) เพื่อให้ชุมชนได้วิเคราะห์หาสาเหตุของภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ร่วมกันแก้ไขปัญหา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh