กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.) ”

ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเต็มศิริขุนยงค์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5311-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป้าหมายหลักหรือผลผลิตของบริการปฐมภูมิที่สำคัญมี 2 ประการคือ การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ได้ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค (Selfcare) และ การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น อย่างเสมอภาคเป็นธรรมนั้น การที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว กลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญคือการมีหมอประจำครอบครัว เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ และในปัจจุบันการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของคนในชุมชนลดลง จึงได้พัฒนานักสุขภาพครอบครัวเป็นหมอประจำครอบครัวเพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน รายครัวเรือนให้กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเด็กและสตรีกลุ่มเด็ก 0-5 ปีกลุ่มวัยเรียนกลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงานกลุ่มผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้สูงอายุรวมทั้งการสรุปวิเคราะห์ข้อมูล แก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งสร้างแกนนำประจำครอบครัว เพื่อให้มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือนสามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพการป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค
เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียม จึงมีความจำเป็นที่จะพัฒนานักสุขภาพครอบครัว(นสค.) และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม.)เพื่อเป็น “หมอประจำครอบครัว” ที่จะร่วมกันพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้านทุกครัวเรือน ประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลรายครัวเรือน รวมเป็น CommunityFolder ของหมู่บ้านให้ถูกต้องและสามารถนำไปใช้ได้ โดยสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด ด้วยกระบวนการ คืนข้อมูลชุมชนตลอดจน ร่วมสรุป วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำแผนแก้ไขปัญหาโดยสร้างให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทุกกลุ่มองค์กร ที่มีในหมู่บ้านชุมชน โดยคาดหวังว่าระบบสุขภาพชุมชน จะมีประสิทธิภาพ สามารถดูแลประชาชนให้บรรลุเป้าหมายตามที่คาดหวัง 2 ประการดังกล่าวข้างต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ครัวเรือนมี“หมอประจำครอบครัว”
  2. 2.เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น “หมอประจำครอบครัว”อย่างมีคุณภาพ
  3. 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
  4. 4. เพื่อพัฒนาCommunityFolder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีนักสุขภาพครอบครัว (นสค. ) หรือหมอประจำครอบครัวที่สามารถดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคได้อย่างเหมาะสม
      1. ทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม. เป็น อสม.เชี่ยวชาญและแกนนำด้านสุขภาพ และเยี่ยมบ้าน

    วันที่ 14 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม.เป็น อสม.เชี่ยวชาญและแกนนำสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสุขภาพ การจัดการสุขภาพและเยี่ยมบ้าน  วันที่  14-16  สิงหาคม  2560  ณ  อบต.น้ำผุด  ผู้เข้าร่วมอบรม  120 คน  ครัวเรือนมี "หมอประจำครอบครัว"  จำนวน  120  ครัวเรือน  (จากทั้งหมด 874 ครัวเรือน) คิดเป็นร้อยละ 13  และพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น  "หมอประจำครอบครัว"  อย่างมีคุณภาพมีความรู้  เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 และพบว่าจากการให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ  มีการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง อบรมพบว่ามีความรู้เพิ่มมากขึ้นมากกว่าร้อยละ  80
    และประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ  พบว่ามีความพึงพอใจภาพรวม  ร้อยละ  88.33

     

    120 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพ อสม.เป็น อสม.เชี่ยวชาญและแกนนำสุขภาพ เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านสุขภาพ การจัดการสุขภาพและเยี่ยมบ้าน
    เมื่อวันที่  14-16  สิงหาคม  2560  ณ  อบต.น้ำผุด  มีผู็เข้าร่วมเป็น อสม.นักจัดการสุขภาพครอบครัว (นสค.)  จำนวน 59  คน  และนักจัดการสุขภาพครอบครัว (นสค.) จำนวน 61  คน รวมเป็นนักจัดการสุขภาพครอบครัวทั้งสิ้น  120  คน สรุปผลการประเมินตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการพบว่าจากการเข้ารับการอบรม  มี นสค.จำนวน  120 คน  ครัวเรือนมี  "หมอประจำครอบครัสว"  จำนวน 120  ครัวเรือน (จากทั้งหมด 874 ครัวเรือน)  คิดเป็นร้อยละ  13  และพัฒนา  นสค. และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น  "หมอประจำครอบครัว" อย่างมีคุณภาพมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  80  พบว่าจากการ อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ  มีการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง พบว่าส่วนใหญ่มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ครัวเรือนมี“หมอประจำครอบครัว”
    ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนมี“หมอประจำครอบครัว” จำนวน จำนวน 120 ครัวเรือน( จากทั้งหมด 874 ครัวเรือน ) คิดเป็นร้อยละ 13

     

    2 2.เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น “หมอประจำครอบครัว”อย่างมีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : 2.หมอประจำครอบครัวมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และแก้ปัญหาสุขภาพเบื้องต้นในชุมชนที่รับผิดชอบเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

     

    3 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
    ตัวชี้วัด : 3.กลุ่มเป้าหมายโรคโรคไตเรื้อรัง(CKD), ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียง(LTC),และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) ได้รับการเยี่ยมบ้านทุกคน

     

    4 4. เพื่อพัฒนาCommunityFolder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด : 4.ข้อมูลครัวเรือนและข้อมูลฐาน HDC ผ่านเกณฑ์คุณภาพมากกว่าร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ครัวเรือนมี“หมอประจำครอบครัว” (2) 2.เพื่อพัฒนา นสค.และ อสม. ปฏิบัติงานร่วมกันเป็น “หมอประจำครอบครัว”อย่างมีคุณภาพ (3) 3. เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการสุขภาพและพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ (4) 4. เพื่อพัฒนาCommunityFolder และฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในชุมชนโดยนักสุขภาพครอบครัว (นสค.) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5311-1-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเต็มศิริขุนยงค์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด