กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. รพ.สต. บ้านฉลุง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8409-02-29 เลขที่ข้อตกลง 40/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8409-02-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,250.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากจะเป็นโรคติดต่อที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลแล้ว ยังมีโรคติดต่อที่อุบัติขึ้นมาใหม่ และโรคติดต่ออุบัติซ้ำ สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าวนั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีวิต การรับประทานอาหารและความก้าวหน้าในการรักษาโรคต่างๆ ในปัจจุบันประเทศไทย กำลังประสบปัญหากับโรคติดต่ออุบัติซ้ำ เช่นโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่นโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A เอช๑ เอ็น๑ โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Mers) และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ซึ่งกำลังระบาดอยู่ในปัจจุบัน พบผู้ป่วยที่ติดเชื้อรวมทั้งเสียชีวิตอีกหลายราย และมีแนวโน้มว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง ประกอบกับพื้นที่ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ประชาชนมีการเข้าออกทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศจำนวนมาก และมีโรงเรียนที่รองรับจำนวนนักเรียนทั้งในเขตพื้นที่ และต่างอำเภอจังหวัดมากมาย ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดการระบาดของโรคได้ง่าย จากการศึกษาข้อมูลโรคติดต่อในชุมชน ย้อนหลัง ๕ ปี จากฐานข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบ้านฉลุง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล พบว่าพื้นที่ยังคงมีการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย อุจาระร่วง โรคตาแดง เป็นต้น และสถาพการณ์ปัจจุบัน ยังคงมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูลได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ ตลอดจนเตรียมความพร้อมรับมือกับโรค ที่จะเกิดในอนาคตจึงจัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูลขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้อสม. มีความรู้ความสามารถในการดำเนินเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๒. เพื่อให้ อสม. สามารถเป็นต้นแบบและถ่ายทอดความรู้ความสามารถในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนให้แก่คนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อสม. มีความรู้ ความสามารถ ในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๒. อสม. สามารถเป็นต้นแบบ และถ่ายทอดความรู้ ความสามารถในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ให้แก่คนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    ๓. อสม. สามารถประดิษฐ์ และแนะนำการทำอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ด้วยตนเองและถ่ายทอดสู่ชุมชนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้อสม. มีความรู้ความสามารถในการดำเนินเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๒. เพื่อให้ อสม. สามารถเป็นต้นแบบและถ่ายทอดความรู้ความสามารถในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนให้แก่คนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ๑. อสม. มีความรู้เรื่องโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ ๒. ประชาชนมีความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้อสม. มีความรู้ความสามารถในการดำเนินเฝ้าระวัง  ป้องกัน และควบคุมควบคุมโรคติดต่อในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ๒. เพื่อให้ อสม. สามารถเป็นต้นแบบและถ่ายทอดความรู้ความสามารถในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชนให้แก่คนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 63-L8409-02-29

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรม อสม. รพ.สต. บ้านฉลุง ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด