กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
1. นางสาววิลาวรรณ เหตุมัน 2. นางสาวนารีมา สมายุ้ย 3. นายกูมูสอด กูหลง

ชื่อโครงการ โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8409-02-30 เลขที่ข้อตกลง 36/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8409-02-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด ๒๐๑๙ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขประกาศ ให้โรคไวรัสโคโรนาหรือ COVID-๑๙ เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลก และคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม อย่างรุนแรงสถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจาย ยังไม่สามารถควบคุมได้ในต่างประเทศ สำหรับประเทศไทยแล้วยังต้องอยู่ในช่วงการเฝ้าระวังซึ่งประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยัน ๓,๑๖๒ คน พบผู้เสียชีวิต ๕๘ คน (ข้อมูลจาก: รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (COVID-๑๔) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๓) หลายประเทศ มีมาตรการในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคด้วยการปิดเมืองปิดประเทศหรือหยุดกิจการบางประเภทส่งผลให้แรงงานชาวไทยหรือนักศึกษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งในต่างประเทศ และภายในประเทศมีการเดินทางกลับภูมิลำเนา สำหรับจังหวัดสตูลเป็นจังหวัดที่มีผู้เดินทางกลับจากประเทศมาเลเซียจำนวนมาก ทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อถึงแม้ตอนนี้ยังไม่พบผู้ติดเชื้อจากผู้เฝ้าระวัง ๓๒ รายก็ตาม (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๓) โรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามควบคู่กับวิชาสามัญ เปิดรับนักเรียนตั้งแต่ระชั้นบริบาล-มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งนักเรียนที่อยู่ประจำและไป – กลับรวมจำนวนบุคลากรในโรงเรียนทั้งหมดประมาณ ๔๕๐ คนซึ่งทำการเปิดภาคเรียนในวันที่ 9 กรกฎาคม ๒๕๖๓ นี้ ซึ่งทางโรงเรียน ต้องตระหนักถึงความปลอดภัยของนักเรียนครูบุคลากรทางการศึกษา เพื่อช่วยลดการเกิดการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) และเพื่อสร้างความกระหนักในการดูแลตัวเองให้ปลอดภัย จากโรคดังกล่าวดังนั้นทางโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ เห็นว่าการรณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ เป็นเรื่องสำคัญมากในช่วงระบาดของโรคนี้ นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ควรมีความรู้และตระหนักถึงการป้องกันและดูแลตัวเอง ให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และเพื่อสร้างสุขนิสัยที่รักษาความสะอาด ในการใช้ชีวิตในโลกยุคปัจจุบัน จึงขอเสนอโครงการรณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิขึ้น เพื่อประโยชน์ของนักเรียนผู้ปกครองครูบุคลากรภายในโรงเรียน และชุมชนใกล้เคียงทั้งในด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม โดยทางโครงการเลือกจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ เป็นจำนวนรวมทั้งหมด ๑๐๓ คนเข้ารวมโครงการและนำความรู้ถ่ายทอดให้กับนักเรียนระดับอนุบาล ประถม และมัธยมศึกษาตอนต้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อติดตามเฝ้าระวังและให้ความรู้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ๒. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อโคโรนา ๒๐๑๙ ในนักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับการติดตามและมีความรู้ในการดูแลตนเองสามารถป้องกันตนเองและบุคคลในครอบครัวจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (COVID-๑๔)
    ๒. นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนไม่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อติดตามเฝ้าระวังและให้ความรู้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ๒. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อโคโรนา ๒๐๑๙ ในนักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนได้รับการติดตามและมีความรู้ในการ ป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. นักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียนไม่ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ ร้อยละ 100
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อติดตามเฝ้าระวังและให้ความรู้คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔)ให้กับนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน
    ๒. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อโคโรนา ๒๐๑๙ ในนักเรียนครูและบุคลากรในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ รณรงค์ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (covid-19)ภายในโรงเรียนจริยธรรมอิสลามมูลนิธิ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 63-L8409-02-30

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( 1. นางสาววิลาวรรณ เหตุมัน 2. นางสาวนารีมา สมายุ้ย 3. นายกูมูสอด กูหลง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด