กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางมะลิวัลย์ คงสง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน จัดประเมินภาวะโภชนาการ2 โรงเรียน เปรียบเทียบครั้งที่1และครั้งที่2 พบว่ายังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงไม่บรรลุตจามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ ภาวะโภชนาการของเด็กเกินเกณฑ์อยู่ คิดเป็นร้อยละ 10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...จากการประเมินพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมได้ เนื่องจากมีอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่เป็นอาหารทอด ซื้อง่าย ผู้ปกครองไม่ได้ทำอาหารเช้าให้รับประทาน แนวทางการแก้ไข ได้แก่ การจัดกิจกรรมให้ผูั้ปกครองที่ปรุงอาหารที่บ้านและะเน้นให้นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยในปีงบประมาณ2559 ได้มีการประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 5-12ปี นักเรียนโรงเรียนบ้านป่าแก่บ่อหินและโรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม จำนวน 448 คน พบเด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนจำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 13.61 สาเหตุอาจเกิดมาจากการบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการและขาดการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลดังกล่าวทำให้เด็กนัหเรียนกลุ่มนี้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคไม่ติดต่ออื่นๆที่เกิดจากภาวะอ้วนได้ ดังนั้นทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลป่าแก่บ่อหิน จึงเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนกลุ่มนี้ ให้มีภาวะโภชนาการอยู่ในเกณฑ์สมส่วนและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ลดปัญหาโรคอ้วนในกลุ่มเด็ก5-12ปี 2.เด็กนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและสามารถบอกต่อได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการอบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน จัดกิจกรรมออกกำลังกายโดยใช้รอกกะลาไว้ออกกำลังกายที่โรงเรียนแอละยางยืดสำหรับออกกำลังกายที่บ้าน ประเมินภาวะโภชนาการอบที่1 รร.บ้านทุ่งดินลุ่ม มีเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 นำ้หนักเกินเกณฑ์ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 รร.บ้านป่าแก่บ่อหิน รอบแรก น้ำหนักเกินเกณฑ์ 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 น้ำหนักเกินเกณฑ์ 33 คน ร้อยละ 20.24

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและปฏิบัติได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
    80.00

    อบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน

    2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
    ตัวชี้วัด : เด็ก5-12ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 10
    20.24

    รอบที่1 รร.บ้านทุ่งดินลุ่ม มีเด็กน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 นำ้หนักเกินเกณฑ์ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 13.55 รร.บ้านป่าแก่บ่อหิน รอบแรก น้ำหนักเกินเกณฑ์ 23 คน ร้อยละ 10.90 รอบที่2 น้ำหนักเกินเกณฑ์ 33 คน ร้อยละ 20.24

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพสุขภาพนักเรียนที่มีภาวะอ้วนให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน 70 คน จัดประเมินภาวะโภชนาการ2 โรงเรียน เปรียบเทียบครั้งที่1และครั้งที่2 พบว่ายังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น จึงไม่บรรลุตจามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ ภาวะโภชนาการของเด็กเกินเกณฑ์อยู่ คิดเป็นร้อยละ 10

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...จากการประเมินพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมได้ เนื่องจากมีอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่เป็นอาหารทอด ซื้อง่าย ผู้ปกครองไม่ได้ทำอาหารเช้าให้รับประทาน แนวทางการแก้ไข ได้แก่ การจัดกิจกรรมให้ผูั้ปกครองที่ปรุงอาหารที่บ้านและะเน้นให้นักเรียนเลือกซื้ออาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนปรับใจ สร้างเด็กไทยให้แข็งแรง จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมะลิวัลย์ คงสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด