กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสันต์ เดะแอ

ชื่อโครงการ โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4127-1-12 เลขที่ข้อตกลง 0011/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 สิงหาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4127-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 สิงหาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจาง ถือเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่พบได้บ่อยที่สุดในสตรีตั้งครรภ์ โดยมีอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ 42 ของการตั้งครรภ์ แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาพบความชุกมากถึงร้อยละ 35-75 และจะมีความรุนแรงที่มากขึ้นดังมีรายงานการเสียชีวิตของมารดาสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางถึงร้อยละ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบแอฟริกา และเอเชียตอนใต้(1) โดยสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดเกิดจาก ภาวะขาดธาตุเหล็ก สถานการณ์ภาวะโลหิตจางของสตรีตั้งครรภ์ไทยจากรายงานของกรมอนามัย พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี ร้อยละ 20-30(2) นช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของระบบโลหิต โดยในครรภ์เดี่ยวจะมีการเพิ่มปริมาณเลือดทั้งหมดประมาณ ร้อยละ 50 (1000 ml) โดยปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 25 (300 ml) ซึ่งการที่มีปริมาณพลาสมาเพิ่มขึ้นในอัตราส่วนที่มากกว่า ทำให้เกิดภาวะ hemodilution ซึ่งไม่ใช่ภาวะโลหิตจางที่แท้จริง และ Hb มักไม่ต่ำกว่า 10 g/dl(3)ผลของภาวะโลหิตจางต่อการตั้งครรภ์ ผลต่อมารดา การทำงานของหับใจหนักขึ้น เพิ่มความเสี่ยง heart failure โอกาสติดเชื้อต่าง ๆ ง่ายขึ้น ช่วงการคลอดและหลังคลอดมีผลกระทบซ้ำเติมต่อมารดาจากการเสียเลือด ทำให้เกิดจากวะช็อก หรือ heart failure ได้ สัมพันธ์กับการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum depression) ผลต่อทารก บางสาเหตุสามารถถ่ายทอดความเสี่ยงไปยังทารกได้ เช่น ธาลัสซีเมีย ทารกน้ำหนักน้อยกว่าปกติ หรือทารกโตช้าในครรภ์ เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด และการคลอดก่อนกำหนด มีเหล็กสะสมน้อยกว่าปกติ หากไม่ได้รับธาตุเหล็กเสริมหลังคลอด จะมีพัฒนาการและเจริญเติบโตของสมองที่ช้ากว่าเด็กทั่วไป(4) สาเหตุของภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์ ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด(hereditary) ความผิดปกติของฮีโมโกลบิน เช่น ธาลัสซีเมีย Sickle cell disease Hereditary hemolytic anemia เช่น G6PD deficiency ความผิดปกติที่เกิดขึ้นภายหลัง(acquired) การขาดสารอาหาร เช่น ธาตุเหล็ก โฟเลต หรือวิตามินบี12 การเสียเลือดออกจากร่างกาย เช่น การตกเลือดก่อนคลอด การมีพยาธิปากขอ ภาวะโรคเรื้อรัง เช่น มะเร็ง โรคไตวายเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดเพื่อเตรียมพร้อมบุตร
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในช่วงตั้งครรภ์
  3. หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์
  4. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ค้นหาและรวบรวมหญิงวัยเจริญพันธ์(อายุ 15-45 ปี) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ
  2. กิจกรรมให้ความรู้และประชาสัมพันธ์โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดเพื่อเตรียมพร้อมบุตร
    1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในช่วงตั้งครรภ์
    2. หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์
    3. จำนวนหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดเพื่อเตรียมพร้อมบุตร
ตัวชี้วัด : ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม
75.00

 

2 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในช่วงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม
85.00

 

3 หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ไม่มีแม่ตายและลูกตาย
85.00

 

4 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงเทียบกับปีงบประมาน2562
95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดเพื่อเตรียมพร้อมบุตร (2) หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะซีดในช่วงตั้งครรภ์ (3) หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ (4) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ค้นหาและรวบรวมหญิงวัยเจริญพันธ์(อายุ 15-45 ปี) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ (2) กิจกรรมให้ความรู้และประชาสัมพันธ์โครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่ไม่ซีด ลูกแข็งแรง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4127-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสันต์ เดะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด