กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถทดสอบพัฒนาการของเด็กได้ 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กในแต่วัยและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กได้ 3. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับโภชนาการ และพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ๔. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ๕. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก o-๕ ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. ร้อยละ ๘๐ ผู้ปกครองเด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในเรื่องพัฒนาการเด็ก โภชนาการเด็ก วัคซีนและผู้ปกครองสามารถกระตุ้นพัฒนาการเด็กเองที่บ้านได้ ๒. ร้อยละ ๙๕ ของเด็กอายุ 9,18, 30,๔๒ และ ๖o เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 3. ร้อยละ ๑oo ของเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นส่งต่อโรงพยาบาลทันที ๔. ร้อยละ ๘o เด็กอายุo-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีโภชนาการที่ดีขึ้น ๕. ร้อยละ ๙๕ เด็กอายุ o-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 108
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 108
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ และสามารถทดสอบพัฒนาการของเด็กได้ 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กในแต่วัยและสามารถกระตุ้นพัฒนาการของเด็กได้ 3. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับโภชนาการ และพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ๔. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการสงสัยล่าช้า ๕. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก o-๕ ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh