โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 ”
ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ส้าน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563
ที่อยู่ ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ส้าน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ส้าน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญของประชากรทั่วโลก และเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆของโลก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งโลกมีอัตราการตายร้อยละ 13 ขณะที่ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกมีอัตราการตายร้อยละ 6 ขณะที่โลกเคลื่อนตัวไปสู่การพัฒนาระบบการแพทย์ เทคโนโลยีในการรักษาที่ทันสมัย อายุคาดเฉลี่ยของมนุษย์ยาวนานขึ้น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอดีตอย่างเรื่องสุขอนามัยไม่ดีลดลงอย่างรวดเร็ว หากแต่ปัจจัยเสี่ยงสมัยใหม่กลับเพิ่มภาระคุกคามให้กับชีวิตที่สุขสบายของมนุษย์ ปัจจัยเสี่ยงเงียบๆทั้งสองชนิดนี้ก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อร่างกายได้อย่างคาดไม่ถึง นำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้วยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ กรรมพันธุ์ และ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้
จากข้อมูลสหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติรายงานว่าในปี พ.ศ.2560 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก 425 ล้านคน และคาดว่าในปี พ.ศ.2588 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 629 ล้านคนองค์การอนามัยโลกระบุว่าจำนวนผู้ป่วยเบาหวานจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในปี 2030 และจะมีผู้เสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานเป็น 3.2 ล้านคน ในแต่ละปี ซึ่งคิดเป็น 6 คนในทุกๆ 1 วินาที ส่วนโรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทั่วโลกสูงถึง 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ12.8 ของสาเหตุการตายทั้งหมด และคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่วโลกเพิ่มขึ้นถึงเป็น 1.56 พันล้านคนในปี พ.ศ.2568
ส่วนในประเทศไทยจากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556 – 2560 ) เพิ่มขึ้นจาก 12,342.14 (จำนวน 3,936,171 คน ) เป็น 14,926.47 (จำนวน 5,597,671 คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขอัตราการป่วยรายใหม่ของความความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก 916.89 (จำนวน 540,013 คน) เป็น 1,353.01 (จำนวน 813,485 คน) ส่วนความชุกของโรคเบาหวานของประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 8.9 (คิดเป็นผู้ป่วยเบาหวาน 4.8 ล้านคน)ความชุกของผู้ที่มีความผิดปกติของน้ำตาลในเลือดตอนเช้าขณะอดอาหาร เท่ากับร้อยละ 15.6 และผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 43.2 ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนและไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นเบาหวาน อีกทั้งยังพบว่ามากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด มีสาเหตุมาจากเบาหวาน ในจังหวัดน่านปีงบประมาณ 2562 อัตราป่วยตายโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.45 อัตราป่วยตายโรคเบาหวาน ร้อยละ 2.23
ในพื้นที่ตำบลส้าน พบอัตราป่วยตายโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 3.28 อัตราป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 1.57 และอัตราป่วยตายโรคเบาหวาน ร้อยละ 0 อัตราป่วยรายใหม่เบาหวานร้อยละ 0.60 สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค
- 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน
- 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต/ชุมชน/อสม. เพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยจัดกิจกรรมฐานความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น จำนวน 1 วัน
- 3.ติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหลังได้รับการอบรม โดยติดตามเยี่ยมบ้าน 1 คน/ครั้ง หลังการอบรม 1 เดือน
- สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2. กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
3. กลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน (2) 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต/ชุมชน/อสม. เพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (3) 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยจัดกิจกรรมฐานความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น จำนวน 1 วัน (4) 3.ติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหลังได้รับการอบรม โดยติดตามเยี่ยมบ้าน 1 คน/ครั้ง หลังการอบรม 1 เดือน (5) สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 ”
ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ส้าน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ส้าน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญของประชากรทั่วโลก และเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้น ๆของโลก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งโลกมีอัตราการตายร้อยละ 13 ขณะที่ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกมีอัตราการตายร้อยละ 6 ขณะที่โลกเคลื่อนตัวไปสู่การพัฒนาระบบการแพทย์ เทคโนโลยีในการรักษาที่ทันสมัย อายุคาดเฉลี่ยของมนุษย์ยาวนานขึ้น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอดีตอย่างเรื่องสุขอนามัยไม่ดีลดลงอย่างรวดเร็ว หากแต่ปัจจัยเสี่ยงสมัยใหม่กลับเพิ่มภาระคุกคามให้กับชีวิตที่สุขสบายของมนุษย์ ปัจจัยเสี่ยงเงียบๆทั้งสองชนิดนี้ก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรงต่อร่างกายได้อย่างคาดไม่ถึง นำมาซึ่งความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากจะเป็นโรคที่รักษาไม่หายแล้วยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรค คือ กรรมพันธุ์ และ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้
จากข้อมูลสหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติรายงานว่าในปี พ.ศ.2560 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก 425 ล้านคน และคาดว่าในปี พ.ศ.2588 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 629 ล้านคนองค์การอนามัยโลกระบุว่าจำนวนผู้ป่วยเบาหวานจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าในปี 2030 และจะมีผู้เสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานเป็น 3.2 ล้านคน ในแต่ละปี ซึ่งคิดเป็น 6 คนในทุกๆ 1 วินาที ส่วนโรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทั่วโลกสูงถึง 7.5 ล้านคน หรือร้อยละ12.8 ของสาเหตุการตายทั้งหมด และคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดันโลหิตสูงทั่วโลกเพิ่มขึ้นถึงเป็น 1.56 พันล้านคนในปี พ.ศ.2568
ส่วนในประเทศไทยจากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2556 – 2560 ) เพิ่มขึ้นจาก 12,342.14 (จำนวน 3,936,171 คน ) เป็น 14,926.47 (จำนวน 5,597,671 คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขอัตราการป่วยรายใหม่ของความความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก 916.89 (จำนวน 540,013 คน) เป็น 1,353.01 (จำนวน 813,485 คน) ส่วนความชุกของโรคเบาหวานของประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 8.9 (คิดเป็นผู้ป่วยเบาหวาน 4.8 ล้านคน)ความชุกของผู้ที่มีความผิดปกติของน้ำตาลในเลือดตอนเช้าขณะอดอาหาร เท่ากับร้อยละ 15.6 และผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 43.2 ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนและไม่ทราบว่าตนเองป่วยเป็นเบาหวาน อีกทั้งยังพบว่ามากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด มีสาเหตุมาจากเบาหวาน ในจังหวัดน่านปีงบประมาณ 2562 อัตราป่วยตายโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.45 อัตราป่วยตายโรคเบาหวาน ร้อยละ 2.23
ในพื้นที่ตำบลส้าน พบอัตราป่วยตายโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 3.28 อัตราป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 1.57 และอัตราป่วยตายโรคเบาหวาน ร้อยละ 0 อัตราป่วยรายใหม่เบาหวานร้อยละ 0.60 สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง โดยใช้กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค
- 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
- 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน
- 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต/ชุมชน/อสม. เพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม
- 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยจัดกิจกรรมฐานความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น จำนวน 1 วัน
- 3.ติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหลังได้รับการอบรม โดยติดตามเยี่ยมบ้าน 1 คน/ครั้ง หลังการอบรม 1 เดือน
- สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสม ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น 3. กลุ่มเสี่ยงและประชาชนทั่วไปมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน (2) 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต/ชุมชน/อสม. เพื่อวางแผนดำเนินกิจกรรม (3) 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยจัดกิจกรรมฐานความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น จำนวน 1 วัน (4) 3.ติดตามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหลังได้รับการอบรม โดยติดตามเยี่ยมบ้าน 1 คน/ครั้ง หลังการอบรม 1 เดือน (5) สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ปี 2563 จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......