กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา


“ โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางมารีนา หลำสะ

ชื่อโครงการ โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ กระทรวงสาธารณสุขได้มีการรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะบรรจุอาหาร ตั้งแต่ปี 2557 กอปรกับจากข้อมูลรายงานการตรวจราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พศ.2562 พบว่าในประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 3 ตามสถิติมีคนตายจากโรคมะเร็งประมาณวันละ 160 คน ปีหนึ่งๆตรวจพผู้ป่วยโรคมะเร็งเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 64,000 รายต่อปี และเสียชีวิตปีละประมาณ 30,000 ราย อุบัติการณ์ของโรคมะเร็งในประเทศไทย ประมาณ 123.8 คน ต่อประชากร 100,000 คน ทั้งนี้ คนไทยอาจได้รับความเสี่ยงจากสารก่อมะเร็งหลายปัจจัย หนึ่งในปัจจัยสำคัญคือ การบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารก่อมะเร็งโดยเฉพาะจากภาชนะที่ใช้บรรจุอาหารประเภทโฟมชนิด โพลิสไตลีน(Polystyrene)โดยจากรายงานผลสำรวจของศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง(TCIJ:Thai Civil Rights and Investigative Journalism) ในปี 2556 คนไทยิยมทำกล่องโฟม(Polystyrene)มาใช้เพื่อการบรรจุอาหาร วันละไม่น้อยกว่า 138 ล้านกล่องหรือเฉลี่ย 2.3 กล่อง/คน/วัน กล่องโฟมรวมถึงกล่องพลาสติกกล่อง PS:polystyrene ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้เป็บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและใช้ในวัตถุประสงค์แตกต่างกัน แต่เป็นภาชนะที่่ไม่เหมาะกับการบรรจุอาหารขณะร้อนจัด มีไขมัน และสัมผัสอาหารเป็นเวลานาน เพราะอาจทำให้สารเคมีได้แก่ สไตรีน (Styrene) เบนซีน(Benzene) ที่เป็นสารตั้งต้นในการผลิตโฟมและจัดอยู่ในกลุ่มสารก่อมะเร็ง ปนเปื้อนสู่อาหารได้ กล่องโฟมรวมถึงกล่องพลาสติกกลุ่ม PS:polystyrene จึงเป็นปญหาสำคัญทั้งประเด็นความเสี่ยงต่อสุขภาพ และปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการย่อยสลายที่ต้องใช้เวลายาวนานประเทศไทยได้กำหนดแผนการจัดการขยะแห่งชาติ ในช่วงปี พ.ศ.2562-2570 โดยกำหนดกรอบระยะเวลาในการเลิกใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร ถุงหูหิ้วแบบบาง แก้วน้ำและหลอดพลาสติก แบบใช้ครั้งเดียว(Sing-use Plastic)ภายในปีพ.ศ 2565 ในขณะที่จังหวัดสงขลา ได้มีนโยบายขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัด 12 วาระ โดยวาระที่ 1ประเด็นที่ 3 กำหนด "สงขลาร่วมใจใช้ถุงผ้า ปลอดกล่อโฟม ลดพลาสติก" ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2562 และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเทพา ได้ดำเนินการรณรงค์เสริมสร้าง "องค์กร/ชุมชนปลอดโฟม"มาตั้งแต่ปี 2558-2562 สามารถเสริมสร้างหน่วยงาน/องค์กรชุมชน ผ่านเกณฑ์"ปลอดโฟม"ได้รวมถึง 86 แห่ง แต่อย่างไรก็ตามการขับเคลื่อนดังกล่าวยังไม่ครอบคลุมไปถึงร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่มีอยู่ในพื้นที่ โดยพบว่าจากจำนวนร้านและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั้งหมด 217 ร้าน จำนวนร้านที่เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร มีเพียง 53 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 24.42 อีกทั้งผู้ประกอบการส่วนใหญ่หันมาเลือกใช้ภาชนะประเภทพลาสติกแทน ซึ่งมีการใช้พลาสติกที่ไม่ถูกประเภท ยังส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม มีเพียงส่วนน้อยที่หันมาใช้ภาชนะที่ย่อยสลายง่ายพลาสติกที่ไม่ถูกประเภท ยังส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม มีเพียงส่วนน้อยที่หันมาใช้ภาชนะที่ย่อยสลายง่าย เช่นกล่องกระดาษหรือวัสดุจากธรรมชาติ ดังนั้น สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเทพาจึงได้จัดโครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติกปี 2563 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเชิญชวนให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารสมัครเข้าร่วมโครงการ
  2. เพื่อขยายพื้นที่ ปลอดโฟม ลดพลาสติก ในร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์
  2. กิจกรรมจัดพิธีMOU
  3. มอบเกียรติคุณแก่ร้านอาหารที่ผ่านการประเมินร้านอาหารปลอดโฟม ลดพลาสติก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ปลอดโฟม ลดพลาสติก เป็นแบบอย่างในการเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้แก่ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารอื่นๆ 2.ผู้บริโภคตระหนักถึงการเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3.ขยะโฟมในเทศบาลตำบลเทพามีปริมาณลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเชิญชวนให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารสมัครเข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมปลอดโฟม ลดพลาสติก ในการบรรจุอาหาร มากกว่าร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อขยายพื้นที่ ปลอดโฟม ลดพลาสติก ในร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ ปลอดโฟม ลดพลาสติกมากว่าร้อยละ 25(เกณฑ์ประเมินปลอดโฟม ลอพลาสติก ในแนบท้ายโครงการ)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเชิญชวนให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารสมัครเข้าร่วมโครงการ (2) เพื่อขยายพื้นที่ ปลอดโฟม ลดพลาสติก ในร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมจัดพิธีMOU (3) มอบเกียรติคุณแก่ร้านอาหารที่ผ่านการประเมินร้านอาหารปลอดโฟม ลดพลาสติก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านอาหารร่วมใจปลอดโฟม ลดพลาสติก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารีนา หลำสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด