กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-3-21 เลขที่ข้อตกลง 21/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-3-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,247.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมุ่งพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตการพัฒนาตนให้มีคุณธรรมนำความรู้ โดยเตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะที่สำคัญ คือทักษะการอ่าน การใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และทักษะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ที่เป็นประตูสู่การเรียนรู้วิชาอื่นๆ ควบคู่ไปกับการวางรากฐานและบ่มเพาะความเป็นคนดี มีคุณธรรม เพื่อเป็นการกระตุ้น และส่งเสริมโรงเรียนได้พัฒนาขีดความสามารถในการคิดค้นสิ่งใหม่ หรือวิธีการใหม่ๆ มาพัฒนาเป็นนวัตกรรมการศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะกับสภาพแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและปรับปรุง เพิ่มประสิทธิภาพ ด้านการบริหารจัดการและจัดการการเรียนการสอนไปด้วยกัน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของโครงการ จึงได้ศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลในด้านต่างๆของนักเรียน พบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน เกิดจากหลายปัจจัย ปัญหาครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมและปัญหาที่สำคัญคือ เกิดจากปัจจัยด้านภายในของนักเรียนไม่ว่าด้านพันธุกรรม ด้านสติปัญญาต่ำ การขาดการบำรุงขณะตั้งครรภ์ของมารดา การขาดธาตุอาหารที่สำคัญ เช่น สารไอโอดีนของมารดา ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาของสมอง นอกจากปัจจัยดังกล่าวแล้วยังมีสิ่งที่จะเสริมสร้างสมองให้พร้อมสมบูรณ์คือการได้รับอากาศบริสุทธิ์และการหายใจอย่างถูกวิธี การดื่มน้ำมากๆเป็นประจำทุกวัน การออกกำลังกายทุกวัน ด้วยท่าเคลื่อนไหวสลับข้างการเคลื่อนไหวที่ผ่อนคลาย เพื่อปลดปล่อยความเครียดให้ร่างกายสงบ และปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อที่จะพัฒนาให้มีประสิทธิภาพทัดเทียมกับโรงเรียนในเมืองได้ การสร้างสิ่งที่เป็นเครื่องสร้างพัฒนาการให้กับเด็ก เพื่อกระตุ้นสมองและการเรียนรู้ของเด็ก อย่างลานกิจกรรม BBL ของโรงเรียน ที่นำแนวคิด BBL (Brain-based Learning) มาใช้ เพื่อใช้เป็นการเสริมสร้างพัฒนาการให้กับเด็กและใช้เพื่อการเรียนรู้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านโยเฉพาะด้านร่างกาย
  2. เพื่อให้เด็กมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเกต การจำแนก และแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย
  3. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมการเตรียมฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 69
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศรีวิชัยมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน โดยเฉพาะด้านร่างกาย
  2. เด็กทุกคนสามารถปฏิบัติกิจกรรมโดยสามารถผ่านฐานกิจกรรมได้
  3. เด็กมีทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมการเตรียมฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน

วันที่ 24 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการจัดฐานการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมาเรียนง่ายไม่ป่วย 2.เด็กผ่านเกณฑ์การประเมินผลพัฒนาการ 3.เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

 

69 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมการจัดฐานการเรียนรู้ 1.วิทยากรให้ความรู้แก่คณะครู ผู้ปกครองและกรรมการสถานศึกษา นักเรียน จำนวน 153 คน เรื่อง พัฒนาการเด็กเมื่อใช้เครื่องมือ BBL   1.1 กิจกรรมติดตั้งฐานการเรียนรู้ จำนวน 6 ฐาน โดยผู้ปกครองร่วมติดตั้งสร้างฐานประกอบด้วย     - ฐานที่ 1 ฐานวิ่งต่างระดับ     - ฐานที่ 2 ฐานมุดวงกลม     - ฐานที่ 3 ฐานวิ่งแข่ง     - ฐานที่ 4 ฐานวิ่งสลับซิกแซก     - ฐานที่ 5 ฐานลอดอุโมงค์     - ฐานที่ 6 ฐานวิ่งต่ำสูง 2.กิจกรรมการทาสีรองพื้นอุปกรณ์ (ล้อรถยนต์) 3.ขุดหลุมตามแบบที่ได้วางไว้วางล้อรถที่สีแห้งลงในดิน จัดทั้งหมด 6 ฐาน 4.กิจกรรมการเรียนรู้ในฐานการเรียน จำนวน 6 ฐาน ด้วยวิธีการสลับหมุนเวียนกันเรียนทั้ง 3 ระดับชั้นตั้งแต่เครียมเด็กเล็ก 1-3 ผลที่เกิดจากโครงการในเชิงปรืมาณ 1.จากสถิติการมาเรียน เด็กไม่ป่วยง่าย ร้อยละ 90 2.เด็กผ่านเกณฑ์การประเมินผลพัฒนาการร้อยละ 90 3.เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ ร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านโยเฉพาะด้านร่างกาย
ตัวชี้วัด : จากสถิติการมาเรียนเด็กมาเรียนไม่ป่วยง่าย ร้อยละ 90
90.00 90.00

เด็กไม่ป่วยง่าย

2 เพื่อให้เด็กมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเกต การจำแนก และแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : เด็กผ่านเกณฑ์การประเมินผลพัฒนาการร้อยละ 90
90.00 90.00

เด็กผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการ

3 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
90.00 90.00

เด็กมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 69 153
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 69 153
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านโยเฉพาะด้านร่างกาย (2) เพื่อให้เด็กมีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์  สังเกต  การจำแนก  และแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมการเตรียมฐานการเรียนรู้ 6  ฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8402-3-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวราลักษณ์ ปิยปัญญาธิวัฒน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด