กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่โดยพลัง ผู้นำชุมชนตำบลกาหลง ปี 2560
รหัสโครงการ 60-L2524-1-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่
วันที่อนุมัติ 7 มิถุนายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2560 - 29 ธันวาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 9,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนาซีพ๊ะ ขุนกาเซ๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางปารีดะแก้วกรอง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.213,101.414place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2560 29 ธ.ค. 2560 9,900.00
รวมงบประมาณ 9,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สำนักงานสถิติแห่งชาติได้สำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรีปี 2559 พบว้า จำนวนประชากรมี อายุ ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป 54.8ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน (ร้อยละ 20.7 ) เป็นผู้สูบบุหรี่ประจำ 10 ล้านคน (ร้อยละ 18.2) สูบนาน ๆ ครั้ง 1.4ล้านคน (ร้อยละ 2.5) ในกลุ่มวัยทำงาน (25-59ปี ) มีอัตราการสูบุหรี่สูงสุด(ร้อยละ 23.5) รองลงมากลุ่มผู้สูงอายุ(60ปีขึ้นไป)และกลุ่มเยาวชน(15-24 ปี)(ร้อยละ 16.6และ14.7 ตามลำดับ) ผู้ชายสูบบุหรี่มากว่าผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ 40.5 และ22ตามลำดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 พบว่าเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มสูงขึ้นและทุกกลุ่มมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่น้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน 15-24 ปี เรื่มสูบบุหรี่อายุนอยลงค่อนข้างมากว่ากลุ่มอื่นคือจากปี 2550 เยาวชนเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุ 16.8 ปี ในปี 2559 ลดลงเป็นอายุ 15.6 ชี้ให้เห็นว่า อายุของนักสูบบุหรี่หน้าใหม่มีอายุน้อยลง จึงต้องมีมาตรการเผ้าระวังในกลุ่มเยาวชนมากขึ้น และในประเทศไทยมีคนเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่คิดเป็น 12 % ของการตายทั้งหมด รัฐบาลสูญเสียทางเศรษฐกิจกับค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่ถึง 43.6 พันล้านบาท คิดเป็น 0.5 % ของ GDP ถ้ายังไม่มีมตรการใด ๆ ในการป้องกันและเฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ อีกทั้งบุหรี่เป็นเพียงสินค้าชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย แต่เป็นอันตรายต่อทุกคนทั้งที่เป็นผู้สูบบุหรี่ และผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ได้รับคลันบุหรี่มือสอง จึงมีความจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประช่าชนให้ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่โดยยึดหลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งการดูแลสร้างเสริมสุขภาพ การแนะนำให้มาบำบัด จัดระบบเฝ้าระวังไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ โดยการสร้างแรงจูงใจ การตระหนักในปัญหา ร่วมกันให้คำปรึกษา ติดตาม ดูแล และการให้ความรู้แก่ประชาชนให้สามารถนำไปปฏิบัติจริง โดยเฉพาะการป้องกันที่ดีโดยการสร้างการตระหนัก จูงใจประชาชนเลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพดีของตนเองและบุคคลรอบด้าน ด้วยเหตุดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่โดยพลังชุมชนตำบลกาหลง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชนในเขตตำบลกาหลง

ประชาชนผู้สุบบุหรี่เข้าร่วมเครือข่ายตามที่คาดหวังไว้

2 เพื่อให้ ผู้นำ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน/ชุมชน

ประชาชนรับรู้อันตรายจากบุหรี่

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชนในเขตตำบลกาหลง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ ผู้นำ มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน/ชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.จัดทำแนวทาง และแบบรายงาน พร้อมชี้แจงให้กับผู้นำชุมชน 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากพิษภัยของบุหรี่ ให้กำลังใจ และคำแนะนำในการเลิกสูบบุหรี่ หรือ เข้าระบบการบำบัด เพื่อการเลิกสูบบุหรี่ 4.รวบรวมรายชื่อผู้สมัครเลิกสูบบุหรี่ในโครงการ และผู้สมัครที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ส่งให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาถตำบลบ้านป่าไผ่ 5.ติดตามการเลิกสูบบุหรี่ต่อเนื่อง 3 เดือน โดยไม่กลับไปสูบบุหรี่อีก 6. รวบรวม สรุป รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดเครื่อข่ายผู้นำเพื่อร่วมดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน 2.การมีส่วนร่วมในการดำเนินเฝ้าระวังเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน/ชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2560 16:02 น.