กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง


“ การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง ”

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
กองศึกษาเทศบาลตำบลตันหยง

ชื่อโครงการ การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง

ที่อยู่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2560 ถึง 6 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง



บทคัดย่อ

โครงการ " การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2560 - 6 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลตันหยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จัดตั้งขั้นเมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคมและสติปัญญา ให้เหมาะสมตามวัยแก่เด็กก่อนเกณฑ์ อีกทั้งเพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กเพื่อจะเข้ารับการศึกษาต่อในระดับที่สูงต่อไป ปัจจุบันมีเกณฑ์เข้ารับการเตรียมความพร้อมทั้งสิ้น 59 คน ในปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งซึ่งทุกหน่วยงานต้องมาช่วยกันดูแลสภาวะสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนเกณฑ์ จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ ในปี 2559 เด็กกลุ่มอายุ 2 -4 ปี ทั้งหมด จำนวน 56 คน เป็นเด็กที่สุขภาพช่องปากที่ดี จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 34เด็กที่มีปัญหาฟันผุ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 66 ซึ่งจากผลของการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ ดังกล่าวปรากฏว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเด็กเล็กคุณภาพ (ตามมาตรฐานกำหนดว่าผ่านเกณฑ์ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 57 ของเด็กทั้งหมด) ทั้งนี้ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านบากงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากเด็ก เพราะถือว่าหากเด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ก็จะส่งผลต่อสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจที่ดีตามมา ดังนั้นในปัจจุบันจึงได้เสริมสร้างกระบวนการให้ความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเล่านิทานเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากที่ดี ก็จะส่งผลต่อสุขภาพช่องปาก การฝึกแปรงฟันและสาธิตการแปรงฟันให้เด็กดู การให้เด็กได้แปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารเที่ยง แต่กิจกรรมเหล่านี้ยังไม่เพียงพอต่ออัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็กได้ เพราะแม้ว่าเราจะสอนหรือให้เด็กได้แปรงฟันอย่างถูกวิธีเพียงใด หากไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและตัวเด็กก็ไม่สามารถที่จะป้องกันโรคฝันผุให้ได้ผลอย่างเต็มที่ ดังนั้นในการที่จะป้องกันโรคฟันผุในเด็กก่อนเกณฑ์ให้ได้ผล จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่ายในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะความร่วมมือจากครอบครัว ครูศูนย์เด็ก และตัวของเด็กเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้องให้แก่เด็กและผู้ปกครอง โดยผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของเด็กที่มาเรียนในแต่ละวัน
  2. ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีทัศนะคติที่ถูกต้องในการร่วมกันรักษาความสะอาดสุขภาพช่องปากและลดพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด
  3. ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการทำความสะอาดในช่องปากให้แก่เด็กในเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน
  4. 4. เพื่อให้เด็กได้มีสุขภาพฟันดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนเด็กทั้งหมด
  5. 5.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กที่มีสุขภาพช่องปากที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครองและเด็กก่อนเกณฑ์มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กที่ถูกวิธี และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง 2. เด็กในศูนย์ก่อนเกณฑ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟันที่ถูกวิธีและการรับประทานขนมสำเร็จรูปลดน้อยลงส่งผลให้มีสุขภาพช่องปากที่ดี 3. ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและมีส่วนร่วมในการทำความสะอาดช่องปากให้แก่เด็กในช่วงเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กและผู้ปกครอง

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการทำความสะอาดในช่องปากให้แก่เด็กในเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน 2.เด็กมีสุขภาพฟันที่ดี 3.ผู้ปกครองของเด็กมีทักษะคติที่ถูกต้องในการร่วมกันรักษาความสะอาดสุขภาพช่องปากและพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน
    4.นักเรียนมีสุขนิสัยและได้รับการฝึกทักษะการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้อง

     

    120 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.นักเรียนมีสุขนิสัยและได้รับการฝึกทักษะการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้องให้แก่เด็กและผู้ปกครอง 2.ผู้ปกครองของเด็กมีทักษะคติที่ถูกต้องในการ่วมกันรักษาความสะอาดสุขภาพช่องปากและลดพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน
    3.ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดในช่องปากให้แก่เด็กในเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน 4.เด็กมีสุขภาพฟันที่ดี 5.ผู้ปกครองและเด็กมีแรงจูงใจในการที่จะรักษาสุขภาพช่องปากที่ดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้องให้แก่เด็กและผู้ปกครอง โดยผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของเด็กที่มาเรียนในแต่ละวัน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีทัศนะคติที่ถูกต้องในการร่วมกันรักษาความสะอาดสุขภาพช่องปากและลดพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการทำความสะอาดในช่องปากให้แก่เด็กในเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้เด็กได้มีสุขภาพฟันดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนเด็กทั้งหมด
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กที่มีสุขภาพช่องปากที่ดี
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้องให้แก่เด็กและผู้ปกครอง โดยผู้ปกครองไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของเด็กที่มาเรียนในแต่ละวัน (2) ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีทัศนะคติที่ถูกต้องในการร่วมกันรักษาความสะอาดสุขภาพช่องปากและลดพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด (3) ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และมีส่วนร่วมในการทำความสะอาดในช่องปากให้แก่เด็กในเวลาตอนเช้าและตอนเย็นหลังเลิกเรียน (4) 4. เพื่อให้เด็กได้มีสุขภาพฟันดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของจำนวนเด็กทั้งหมด (5) 5.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กที่มีสุขภาพช่องปากที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การอบรมการเสริมสร้างสุขภาพช่องปากของเด็กให้เด็กและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทต.ตันหยง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองศึกษาเทศบาลตำบลตันหยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด