กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี


“ โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง ”

ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสะปิเย๊าะ ดอเลาะหมิ

ชื่อโครงการ โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง

ที่อยู่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระราชดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทยเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงการรู้จักพึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ การวางรากฐานการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับทุกคนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กเยาวชนที่จะเป็นอนาคตของชาติ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดกลยุทธ์การปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งนโยบายในการปฏิรูปการศึกษารอบที่ 2 (พ.ศ.2552 – 2561) ซึ่งมุ่งเน้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น จากหลักการดังกล่าว ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปายอจงจึงได้จัดทำ “โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแล รักษา และป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์ เด็กเล็ก ให้กับครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการ อบรม ๒.เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย จากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ ดี ๓.เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการ ยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอด โรค ๔.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะโรคมือเท้าปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 2
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ     1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง     2. นักเรียนมีภูมิคุ้มกันโรค เนื่องจากรับประทานอาหารที่มีประโยชน์     3. เด็ก ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมปลูกต้นไม้     4. นักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปายอจง สังกัดกองการศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลธารคีรี เป็นแหล่งเรียนรู้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแล รักษา และป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์ เด็กเล็ก ให้กับครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการ อบรม ๒.เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย จากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ ดี ๓.เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการ ยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอด โรค ๔.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะโรคมือเท้าปาก
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เชิงปริมาณ 1. จำนวนผู้เข้าโครงการ 80 คน เชิงคุณภาพ 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. การดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 34
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 32
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 2
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแล รักษา และป้องกันโรคติดต่อที่พบบ่อยในศูนย์ เด็กเล็ก ให้กับครู ผู้ปกครอง และผู้เข้ารับการ อบรม ๒.เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย จากโรคติดต่อต่างๆ ให้ลดลง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการและสุขภาพที่ ดี ๓.เพื่อส่งเสริมการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของเด็กและได้รับการ ยอมรับจากผู้ปกครองให้เป็นศูนย์เด็กเล็กปลอด โรค ๔.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะโรคมือเท้าปาก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกินดี อยู่ดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ศพด.ปายอจง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสะปิเย๊าะ ดอเลาะหมิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด