กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางอาจารีย์ สุวรรณรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-02-06 เลขที่ข้อตกลง 20/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L6961-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคอ้วนลงพุงเป็นภาวะที่มีการสะสมของไขมันในช่องท้องมากเกินไป ทำให้เกิดเมตาบอลิกซินโดรม (Metabolic Syndrome) ซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างมาก โดยคนท้วมมีโอกาสเกิดอ้วนลงพุงได้ถึงร้อยละ 25 หากตกอยู่ในภาวะอ้วนลงพุงจะส่งผลเสียกับร่างกาย ได้แก่ โรคอ้วน ไขมันอุดตัน โรคหัวใจ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ไขมันเกาะตับ มะเร็ง โรคนิ่วในถุงน้ำดี โรคเกาต์ โรคข้อเสื่อม หยุดหายใจตอนนอน (Sleep Apnea) โรคผิวหนัง เชื้อรา เส้นเลือดขอด เป็นต้น สาเหตุส่วนหนึ่งของภาวะอ้วนลงพุงคือ การรับประทานอาหารที่มากเกินกว่าความต้องการของร่างกาย การขาดการออกกำลังกาย เป็นต้น การเต้นแอโรบิค(Aerobic Dance) เป็นการออกกำลังกายที่ทำให้ร่างกายได้เคลื่อนไหวออกแรงและทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น มีการสูบฉีดของโลหิตไปทั่วร่างกายมากขึ้น ทำให้เซลล์ต่างๆ ในร่างกายได้รับออกซิเจนหล่อเลี้ยงเพิ่มมากขึ้น และมีการระบายของเสียออกได้รวดเร็วขึ้น โดยทั่วไปจะมีคำแนะนำสำหรับเวลาที่ใช้ในการออกกำลังกายแบบแอโรบิคประมาณ 20-30 นาทีเพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเป็นวิธีการออกกำลังอย่างหนึ่งที่สามารถควบคุมน้ำหนักของตนเองได้ ซึ่งหลังจากออกกำลังกายอาจมีความรู้สึกปวดและเมื่อยกล้ามเนื้อขึ้นได้เนื่องจากเส้นใยกล้ามเนื้อจะขยายและเกิดการสลายหรือถูกทำลายเป็นผลทำให้เกิดการอักเสบ บาดเจ็บของเซลล์ และหลังจากนั้น ร่างกายเราจะพยายามรักษาสภาพให้คืนกลับมาดังเดิม โดยการซ่อมแซมเซลล์ ซึ่งการบาดเจ็บทั้งหมดทั้งมวลภายในเซลล์นี้ ร่างกายตอบสนองมาให้เรารับรู้ในรูปแบบของอาการ ปวดและเมื่อยนั่นเอง ซึ่งการนวดผ่อนคลายหลังออกกำลังกายสามารถช่วยป้องกันการฉีกขาดของกล้ามเนื้อหรือพังผืดและลดการเกิดอุบัติเหตุ รักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ และลดความเจ็บปวดได้พอสมควร
และในสถานการณ์ปัจจุบันได้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขึ้นทั่วโลก สำหรับในประเทศไทยก็ยังมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในทุกวัน ดังนั้น การส่งเสริมให้สมาชิกในกลุ่มมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการดูแลตนเองเบื้องต้น ทางชมรมแอโรบิคลานคนเดิน สนามมหาราช จึงได้จัดโครงกาารนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนสมาชิกที่มีภาวะอ้วนลงพุง/ดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการนวดผ่อนคลายหลังการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  3. เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยแอโรบิค
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง และการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกายที่ดีขึ้น น้ำหนักรอบเอวและดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนวดผ่อนคลายหลังการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยแอโรบิค

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจัดซื้อไมโครโฟนไร้สายชนิดคล้องหู  9000 บาท ค่าจัดจ้างทำแผนเพลงนำเต้น  1000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ออกกำลังกาย

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง และการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนวิทยากร  3000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  3000 บาท ค่าอาหารกลางวัน  3000 บาท ค่าป้ายโครงการ  1000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนสมาชิกที่มีภาวะอ้วนลงพุง/ดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : สมาชิกที่อ้วนลงพุง/ดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐานมีจำนวนลดลง
50.00 40.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการนวดผ่อนคลายหลังการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกสามารถนวดผ่อนคลายหลังการออกกำลังกายได้อย่างถูกต้อง
50.00 70.00

 

3 เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : สมาชิกมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้อย่างถูกต้อง
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนสมาชิกที่มีภาวะอ้วนลงพุง/ดัชนีมวลกายเกินเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการนวดผ่อนคลายหลังการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (3) เพื่อให้สมาชิกมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยแอโรบิค (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง และการป้องกันตนเองจากโรค COVID-19

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพยุค COVID-19 ด้วยแอโรบิคออกกำลังกายและการนวดผ่อนคลายด้วยตนเอง ชมรมแอโรบิคลานคนเดิน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาจารีย์ สุวรรณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด