กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสุมาตร บุญรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-2-18 เลขที่ข้อตกลง 40/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L6961-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 25 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการที่พืชผักที่มีขายในตลาด มักมีสารพิษตกค้าง ทำให้ประชาชนมีการบริโภคผักน้อยลง ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆ และจากข้อมูลของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่งทั่วประเทศ เฝ้าระวังความปลอดภัยของผักสด ผลไม้สด ในระหว่างปี พ.ศ. 2556-2559 มีการสุ่มตรวจผักและผลไม้ที่นำเข้าจากต่างประเทศประมาณ 800 ตัวอย่างต่อปี พบการตกค้างประมาณร้อยละ 10 และในปี พ.ศ.2558 ได้ศึกษาสถานการณ์การตกค้างในผักสดผลิตในประเทศที่มีข้อมูลการตกค้างสูง และคนไทยนิยมบริโภค4 ชนิด ได้แก่ คะน้า ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง และตำลึง จำนวน 934 ตัวอย่าง เก็บจากทุกจังหวัดทั่วประเทศมีการตกค้างร้อยละ 22.3 แต่มีเพียงร้อยละ 1 ที่ตกค้างเกินค่ามาตรฐาน นอกจากนั้นได้ศึกษาสถานการณ์การตกค้างในน้ำผักและน้ำผลไม้ ได้แก่ น้ำส้ม น้ำฝรั่ง น้ำแครอท น้ำทับทิม น้ำใบบัวบก และน้ำผักผลไม้ผสม จำนวน 100 ตัวอย่าง โดยน้ำผักและน้ำผลไม้ที่คั้นมีการตกค้างในสัดส่วน ร้อยละ 18 ส่วนน้ำผักและผลไม้ที่อยู่ในภาชนะปิดสนิท พบร้อยละ 6 แต่ปริมาณการตกค้างดังกล่าวอยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อการบริโภค และปี พ.ศ.2559 ได้มีการสุ่มเก็บผักและผลไม้สดที่คนไทยนิยมบริโภคสูงจากตลาดค้าส่ง จาก 5 ภาคๆละ 2 จังหวัด ผลไม้สด ได้แก่ ส้ม มะม่วง ฝรั่ง เงาะ ลิ้นจี่ ลำไย แก้วมังกร ชมพู่ รวม 99 ตัวอย่าง ตรวจพบสารตกค้างร้อยละ 51 จากการตรวจทั้งผลรวมเปลือก ซึ่งมีผลไม้ ที่สารตกค้างเกินค่ามาตรฐาน ร้อยละ 7 ชนิดสารเคมีที่มีอัตราตรวจพบสูง คือ คาร์เบนดาซิม และไซเปอร์มีทริน ส่วนผักสด ได้แก่ คะน้า ถั่วฝักยาว ผักบุ้ง แตงกวา พริกขี้หนู ผักชี โหระพา และมะเขือเปราะ จำนวน 112 ตัวอย่าง มีสัดส่วนการตกค้างร้อยละ 50 และร้อยละ 5 ของผักสดดังกล่าวมีสารตกค้างเกินค่ามาตรฐาน รวมทั้งตรวจพบการตกค้างวัตถุอันตรายทางการเกษตรห้ามใช้ 2 ชนิด ได้แก่ เอนโดซัลแฟน และเมธามิโดฟอสในคะน้า และถั่วฝักยาว 3 ตัวอย่าง กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ชุุมชนสวนมะพร้าว จึงได้จัดทำโครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมในสมาชิกในชุมชนปลูกผักที่ปลอดจากสารเคมี และนำผักที่ได้มาบริโภคภายในครัวเรือน เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากเป็นผักที่ปลูกกันเองและปลอดจากสารเคมี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีผักปลอดสารพิษบริโภคภายในครัวเรือน ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี
  2. เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัย ภายใต้ระบบ GAP (Good Agricultural Practice)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกในชุมชนมีผักปลอดสารพิษบริโภคภายในครัวเรือน ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี
  2. สมาชิกในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัย ภายใต้ระบบ GAP (Good Agricultural Practice)

วันที่ 27 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนวิทยากร  7200 บาท ค่าอาหารกลางวัน  2500 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2500 บาท ค่าป้ายโครงการ  1200 บาท การเพาะเมล็ดพันธ์ุผัก ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก  1500 บาท ค่าถาดเพาะปลูก  900 บาท ดินเพาะเมล็ด  350 บาท การทำปุ๋ยหมัก (ปุ๋ยคอก) มูลสัตว์  2400 บาท แกลบ  1200 บาท รำ  1200 บาท กากน้ำตาล  300 บาท ไม้แผ่นทำคอกปุ๋ยหมัก  1600 บาท การทำน้ำหมักชีวภาพ (ปุ๋ยน้ำ) ถังหมัก 200 ลิตร  1500 บาท เศษปลา  1200 บาท กากน้ำตาล  1200 บาท การทำน้ำหมักยาไล่แมลงศัตรูพืช ถังหมัก 200 ลิตร  1500 บาท ยาเส้น  1500 บาท เหล้าขาว  800 บาท กากน้ำตาล  800 บาท น้ำยา EM  100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้และการนำไปใช้ประโยชน์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีผักปลอดสารพิษบริโภคภายในครัวเรือน ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีผักปลอดสารพิษบริโภคภายในครัวเรือน ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี (2) เพื่อให้สมาชิกในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดภัย ภายใต้ระบบ GAP (Good Agricultural Practice)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพชาวชุมชนสวนมะพร้าว ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุมาตร บุญรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด