กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ อบต.แว้ง
รหัสโครงการ 64-L8300-4-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการของกองทุน
วันที่อนุมัติ 14 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 134,733.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอาซือมิง เจ๊ะอุเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นการกระจายอำนาจการบริหารจัดการสู่ภูมิภาค ท้องถิ่น และชุมชน
โดยพัฒนาศักยภาพและกระจายอำนาจการตัดสินในให้ท้องถิ่นมีบทบาทสามารถรับผิดชอบในการสบริหารจัดการ บริการสาธารณะ ตลอดจนแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ สามารถสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ท้องถิ่นอย่าง แท้จริง
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตารม แนวทางการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง ตลอดจนการติดตามการจัดกิจกรรมต่างๆที่ได้รับงบ สนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ จึงได้จัดตั้งโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้งใน ปีงบประมาณ 2564

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

ร้อยละ 100 การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ

ร้อยละ 100 สนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์

ร้อยละ 100 จัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกข้อมูลและรายงานผ่านระบบออนไลน์

0.00
4 ข้อที่ 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

ร้อยละ 100 พิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

0.00
5 ข้อที่ 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

ร้อยละ 100 ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาพนักงานจ้างเหมา (ชั่วคราว) ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แว้ง 1 84,070.00 84,000.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 1.1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 21 20,475.00 10,275.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรม 1.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 7 4,725.00 1,575.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 3.1 จัดซื้อวัสดุเพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 0 2,855.00 2,855.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 3.2 จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 0 16,000.00 16,000.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 4 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 0 6,608.00 -
รวม 29 134,733.00 5 114,705.00
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ /คณะทำงาน
    • ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน – กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ โดยจะมีการประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 3 ครั้ง/ปี และประชุมคณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาพนักงานจ้างเหมา (ชั่วคราว) ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ – ร่วมประชุมวางแผน กำหนดขอบเขต กรอบการจ้างให้เป็นไปตามภารกิจของกองทุนหลักประกันสุขภาพ – กำหนดคุณสมบัติ ความรู้ความสามารถของลุกจ้างที่จะดำเนินการจ้างเหมา – กำหนดรูปแบบวิธีการจ้างเหมา การรับสมัคร กรอบอัตราเงินสำหรับการจ้างเหมา – ตั้งแต่เจ้าหน้าที่ เพื่อตรวจรับมอบผลงานปฎิบัติงานตารมสัญญาหรือข้อตกลงการจ้าง กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง
  2. ขั้นตอนการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน
    • ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย – จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    • จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
    • สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
      กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาพนักงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
    • จัดจ้างพนักงานจ้างเหมา (ชั่วคราว) ตามรูปแบบที่กำหนด

- เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินตรวจรับผลการดำเนินงานของพนักงานจ้างเหมา ตามกำหนดในสัญญาจ้างเหมา - เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาให้กับพนักงานจ้างเหมาตามอัตราที่กำหนดในสัญญาจ้าง – รายงานผลการดำเนินงานให้กับคณะกรรมการกองทุนฯทราบ กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ - จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานตามระเบียบของหน่วยงานโดยอนุโลม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
  3. สามารถบันทึกข้อมูลและรายงานระบบออนไลน์ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
  4. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านเอกสารมีความครอบคลุม สามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นระเบียบเรียบร้อย สะดวกต่อกาสรใช้งาน
  5. มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2563 10:08 น.