กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของเกษตรกรชาวนาและปลูกผักผลไม้
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครอาชีวอนามัย (อส.อช.) ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
วันที่อนุมัติ 30 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 เมษายน 2564 - 30 มิถุนายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 29,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ (คน)
22.00
2 ร้อยละของเกษตรกรที่เจ็บป่วยหรือได้รับอุบัติเหตุ จากการประกอบอาชีพ
20.00
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีอันตรายในเลือด
20.00
4 จำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนา ได้รับผลกระทบจากพยาธิในหอยคัน
12.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากพื้นที่ตำบลน้ำขาวส่วนใหญ่ประชากรประกอบอาชีพเก่ษตรกรรม เช่น ยางพารา ทำนา และผลไม้ตามฤดูกาล ทำให้ประชาชนมีปัญหาสุขภาพตามมา ได้แก่อาการเจ็บปวดตามร่างกาย อันตรายจากสัตว์มีพิษ อุบัติเหตุต่าง ๆ พยาธิหอยคัน และสารเคมีตกค้างในเลือดดังนั้นหากประชาชนผู้ประกอบอาชีพได้มีความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และวิธีการป้องกัน หลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น จะสามารถทำให้ประชาชนตำบลน้ำขาวมีสุขภาพที่ขึ้น นำมาซึ่งความสุขในการดำรงชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่

จำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)

22.00 22.00
2 เพื่อลดจำนวนเกษตรกรที่เจ็บป่วย จากการการประกอบอาชีพ

ร้อยละของเกษตรกรที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง

20.00 10.00
3 เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีในเลือดลดลง

20.00 5.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนา ที่ได้รับผลกระทบจากพยาธิหอยคัน

จำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนาแล้วได้รับผลกระทบจากพยาธิหอยคันลดลง

12.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 29,950.00 0 0.00
15 เม.ย. 64 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและการจัดทำกติกา ข้อตกลงร่วมกลุ่มเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ 0 550.00 -
26 เม.ย. 64 การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครอาชีวะอนามัย(อส.อช.) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ(๋JSA) การพัฒนาระบบอาสาสมัครอาชีวอนามัยช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพ 0 2,850.00 -
1 - 14 พ.ค. 64 การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสร้างระบบฐานข้อมูลสถานการณ์ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง จัดเก็บข้อมูลด้านสถานการณ์สุขภาพกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง 0 1,500.00 -
17 - 31 พ.ค. 64 อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกรการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ และเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือดครั้งที่ 1 0 8,250.00 -
21 - 30 มิ.ย. 64 การปรับสภาพแวดล้อมลดอันตรายจากการประกอบอาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการปัญหาความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพการลดการใช้สารเคมี โดยการใช้น้ำหมักสมุนไพรแทนการใช้สารเคมี 0 12,550.00 -
26 - 30 ก.ค. 64 เจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด ครั้งที่ 2 และถอดบทเรียนความสำเร็จ 0 4,250.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกษตรกรได้รับความรู้ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงมีความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ต.ค. 2563 16:16 น.