กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
22.00 22.00

 

2 เพื่อลดจำนวนเกษตรกรที่เจ็บป่วย จากการการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
20.00 10.00

 

3 เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีในเลือดลดลง
20.00 5.00

 

4 เพื่อลดจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนา ที่ได้รับผลกระทบจากพยาธิหอยคัน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนาแล้วได้รับผลกระทบจากพยาธิหอยคันลดลง
12.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครอาชีวอนามัยตำบลน้ำขาว 22
เกษตรกรที่มีอาชีพทำนา ปลูกผักหรือผลไม้ 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ (2) เพื่อลดจำนวนเกษตรกรที่เจ็บป่วย จากการการประกอบอาชีพ (3) เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร (4) เพื่อลดจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำนา ที่ได้รับผลกระทบจากพยาธิหอยคัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานและการจัดทำกติกา ข้อตกลงร่วมกลุ่มเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (2) การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครอาชีวะอนามัย(อส.อช.) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ(๋JSA) การพัฒนาระบบอาสาสมัครอาชีวอนามัยช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพ (3) การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสร้างระบบฐานข้อมูลสถานการณ์ผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง จัดเก็บข้อมูลด้านสถานการณ์สุขภาพกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง (4) อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกรการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ และเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือดครั้งที่ 1 (5) การปรับสภาพแวดล้อมลดอันตรายจากการประกอบอาชีพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการปัญหาความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพการลดการใช้สารเคมี โดยการใช้น้ำหมักสมุนไพรแทนการใช้สารเคมี (6) เจาะเลือดหาสารเคมีในเลือด ครั้งที่ 2 และถอดบทเรียนความสำเร็จ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh