กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
(นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง) พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ




ชื่อโครงการ โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7250-05-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7250-05-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าอุบัติเหตุฉุกเฉิน สาธารณภัย และภัยพิบัติ สามารถเกิดขึ้นได้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยรวมทั้ง  ทุกพื้นที่ทั่วโลก อีกทั้งยังพบว่าแนวโน้มการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำมีเพิ่มขึ้น เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา โรคอหิวาตกโรค โรคไข้ซิก้า โรคมือเท้าปาก โรคชิคุนกุนยา ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและพฤติกรรมมนุษย์ การเดินทางเคลื่อนย้ายของประชากร การเปลี่ยนแปลงของตัวเชื้อโรค ภาวะโลกร้อนทำให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปได้รวดเร็วและกว้างขวาง ซึ่งจังหวัดสงขลาก็เป็นหนึ่งในพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและผลกระทบจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายใน ในเขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุขของเทศบาลนครสงขลา งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้าง และให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้เกี่ยวกับโรคและสามารถปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคและภัยทางสุขภาพได้อย่าง
          ถูกต้อง   2. ประชาชนภายในเขตเทศบาลสามารถเตรียมตัวป้องกันภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง   3. อัตราการป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพ ลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.1 มีการประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
    3.2 ขอความอนุเคราะห์กองวิชาการและแผนงานในการประชาสัมพันธ์ฝ่ายสื่อต่างๆ 3.3 ประสานงานกับสำนักปลัดในการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น ไวนิล รถประชาสัมพันธ์ 3.4 ดำเนินการจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และวิธีการป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.5 ดำเนินการเฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงใน Local Quarantine 3.6 ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชน ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา เกี่ยวกับการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
    3.7 ติดตามเยี่ยมประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนและสนับสนุนหน้ากากและเจลแอลกอฮอล์ให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับผู้บริหารเทศบาลนครสงขลา 3.8 ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์โรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) และแจ้งให้ประชาชนทราบถึงสถานการณ์เป็นระยะๆ พร้อมทั้งวางแผนการป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.9 การลงปฏิบัติงานเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง / ชุมชนที่มีการระบาดของโรค เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) งานป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ร่วมกับ PCU ชลาทัศน์ กุโบร์ พาณิชย์ สมิหลา ใจกลาง โรงพยาบาลสงขลา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสงขลา (ตามแผนปฏิบัติการ)
    3.10 ติดตามประเมินอาการ และรับ – ส่งผู้ป่วย เพื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 3.11 สนับสนุนสารเคมีกำจัดหนูให้แก่ประชาชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. สามารถดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
    0.00

    4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย

    2 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราป่วยและภาวะแทรกซ้อนจากโรคและภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ
    0.00

    4.1 สามารถจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ รายงานข้อมูลผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.2 สามารถดำเนินการรณรงค์ให้ความรู้กับประชาชน, อสม.และแกนนำชุมชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔.๓ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ได้ ๔.4 ดำเนินการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 4.5 จัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วม ในการดูแลประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.6 ไม่เกิดการระบาดของโรค Leptospirosis ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา 4.7 มีจำนวนประชาชนที่เข้ารับการกักตัว ณ Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 66 ราย และ Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(สโมสรเขาน้อย) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย ตรวจพบเชื้อ ส่งต่อ โรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา จำนวน 108 ราย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 60000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเตรียมความพร้อมและดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉิน             และภัยพิบัติอย่างรวดเร็วตามความต้องการของพื้นที่ (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วย ภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7250-05-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง) พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด