กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมมาศ โลหะจินดา

ชื่อโครงการ โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-01 เลขที่ข้อตกลง 4/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5307-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้
ปัจจุบันร้านขายของชำเป็นแหล่งกระจายสินค้าให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่จับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพและมีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัย เช่น ยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัยสูง ประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะการเลือกชื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชำในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ซึ่งหากผู้บริโภคยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกชื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย
จากข้อมูลร้านอาหารทั้งหมด 8 ร้าน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้ป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test) จำนวน 2 ร้านคิดเป็นร้อยละ 25.00 ,แผงลอยจำหน่ายอาหารทั้งหมด 67 ร้าน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้ป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test) จำนวน 1 ร้านคิดเป็นร้อยละ 1.49 และร้านขายของชำทั้งหมด 48 ร้านไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ และจากการตรวจประเมินในบี 2563 ผลการประเมินคือ ร้านขายของชำจำนวน 48 ร้าน มีเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 14 ข้อไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามลำดับ 5 ข้อคือ ข้อที่13 มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่นแผ่นพับ ไวนิล ร้อยละ 100,ข้อที่ 14 ผู้ประกอบการสามารถปฏิบัติหรือตอบคำถามเรื่่องฉลากอาหาร(เลข อย.)/วันผลิต วันหมดอายุ/เลขจดแจ้งของเครื่องสำอาง/ยกตัวอย่างยาที่ขายได้ในร้านชำ ร้อยละ 97.87,ข้อที่ 7 อาหารที่มีฉลากมีการแสดงเครื่องหมาย อย. สถานที่ผลิต วันผลิต วันหมดอายุทุกรายการ ร้อยละ 95.74,ข้อที่ 1 ไม่พบการจำหน่ายยาแผนปัจจุบันประเภทยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ร้อยละ 55.31,ข้อที่ 2 ไม่พบพบการจำหน่ายยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการอักเสบ(NDAIDs) ร้อยละ 38.29 ส่วนการตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารทั้งหมด 84 ร้าน/ร้านอาหารทั้งหมด 6 ร้าน รวมทั้งหมดจำนวน 90 ร้าน มีเกณฑ์มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหารจำนวน 12 ข้อ/15 ข้อ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามลำดับ 5 ข้อคือ ข้อที่ 9 มีการรวบรวมมูลฝอยและเศษอาหารเพื่อนำไปกำจัดคือถังขยะไม่มีฝาปิด ร้อยละ 90,ข้อที่ 8 ช้อน ส้อม ตะเกียบ วางตั้งเอาด้ามขึ้นในภาชนะโปร่งสะอาด หรือวางเป็นระเบียบในภาชนะโปร่งสะอาดมีการปกปิดเก็บสูงจากพิ้นอย่างน้อย 60 ซม. พบไม่ปกปิด ร้อยละ 71.11,ข้อที่ 2 อาหารปรุงสุกมีการปกปิด หรือมีการป้องกันสัตว์แมลงนำโรค พบไม่ปกปิด ร้อยละ 67.70,ข้อที่ 1 แผงลอยจำหน่ายอาหารทำจากวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีสภาพดี เป็นระเบียบอยู่สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. พบไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ ร้อยละ 66.60,ข้อที่ 6 น้ำแข็งที่ใช้บริโภค สะอาด มีฝาปิดสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. ที่ตักด้ามยาว ไม่นำอาหารหรือสิ่งของอย่างอื่นแช่ในน้ำแข็ง พบนำอาหารหรือสิ่งของอย่างอื่นแช่ในน้ำแข็ง ร้อยละ 52.20 ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน จึงได้เล็งเห็นถึงการพัฒนา ยกระดับ และเฝ้าระวังร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ในหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ผู้ประกอบการ จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลง จึงได้จัดทำ "โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหารร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใสใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควน" เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่บ้านควน มีความปลอดภัยในการเลือกชื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปน มีการสำรวจเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านขายของชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้รับการพัฒนายกระดับให้มีคุณภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร ส่งผลให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตรายต่อสุขภาพของคนบ้านควนอย่ายั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
  2. เพื่อพัฒนา ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากสินค้าอุปโภค บริโภคที่ได้มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ
  2. ประชุมออกตรวจประเมินยกระดับร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ประชุม/ออกนิเทศ ตรวจประเมินได้ป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test) จาก สสจ.สตูล
  4. ประชุมสรุปผลการประเมินร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ประกอบการร้านชำ/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 85
  2. แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้รับป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test) ร้อยละ 60
  3. ร้อยละ 100 ของร้านชำ ได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร
50.00 85.00 100.00

 

2 เพื่อพัฒนา ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานได้รับป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test)
30.00 60.00 31.03

 

3 เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากสินค้าอุปโภค บริโภคที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านชำ ได้รับการตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน
30.00 100.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ประกอบการร้านชำ/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร 80 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ/ผู้สัมผัสอาหาร (2) เพื่อพัฒนา ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร (3) เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากสินค้าอุปโภค บริโภคที่ได้มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพิ่มความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเกณฑ์มาตรฐาน ให้แก่ผู้ประกอบการ (2) ประชุมออกตรวจประเมินยกระดับร้านชำ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (3) ประชุม/ออกนิเทศ ตรวจประเมินได้ป้าย อาหารสะอาด รสชาติอร่อย(Clean Food Good Test) จาก สสจ.สตูล (4) ประชุมสรุปผลการประเมินร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านอาหาร ได้มาตรฐานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภคบ้านควนปี 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมมาศ โลหะจินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด