กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะซึมเศร้าพบได้บ่อยในผู้สูงอายุเพราะเป็นวัยที่มีการสูญเสียหลายด้านทั้งร่างกาย จิตใจสังคมและสูญเสียบุคคลในครอบครัว เพื่อนหรือคู่ชีวิตเป็นวัยที่ต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของชีวิตอย่างมากผู้สูงอายุบางคนป่วยเป็นโรคเรื้อรังเช่น โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้นไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้นอกจากโรคต่างๆแล้วผู้สูงอายุบางคนยังถูกลูกหลานทอดทิ้งให้อยู่คนเดียวไม่มีใครสนใจดูแล หรือไม่ก็ต้องรับภาระเลี้ยงหลานซึ่งเป็นกำพร้า พ่อ แม่ แยกทางกันประกอบกับวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนในสังคมยุคปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปมีแต่การแข่งขันดิ้นรนทำงานเพื่อหารายได้เลีัยงตัวเองให้สามารถอยู่ได้ในสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำทั้งด้านการเมืองที่ยังคงมีปัญหายืดเยื้อ ตลอดจนวัฒนธรรมและค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไปมากการพูดคุยสื่อสารในครอบครัว และชุมชนน้องลง การทำกิจกรรมร่วมกันน้อยลง ความรักความอบอุ่น การดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชนลดน้อยลง ส่งผลต่อความเสื่อมถอยของสุขภาพจิตเกิดเป็นปัญหาสุขภาพจิตตั้งแต่เครียดวิตกกังวลไปจนถึงปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรง เช่น โรคจิต ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย ซึ่งมีผล กระทบต่อตนเองคนรอบข้าง และสังคม โรคซึมเศร้าสามารถรักษาให้หายได้โดยการใช้ยาต้านเศร้ารวมทั้งการพูดคุยปรึกษาปัญหาชีวิตที่รบกวนอยู่การออกกำลังกาย และการทำกิจกรรมที่ทำให้เพลิดเพลินหรือมีความสุขเพื่อเลี่ยงไม่ให้ผู้ที่ซึมเศร้าจมอยู่กับปัญหาของตัวเองการทำกิจกรรมจะช่วยให้อารมณ์ดีขึ้นแม้ว่าในช่วงที่เศร้ามากๆอาจจะยังทำไม่ได้เต็มที่แต่ถ้าหากลองทำไปเรื่อยๆเท่าที่ทำได้จะพบว่าอารมณ์และความรู้สึกจะดีขึ้นด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
  2. -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ทำให้มีสมาธิ ได้รับเพลิดเพลินช่วยให้อารมณ์และความรู้สึกของผู้ป่วยดีขึ้น
  3. เพื่อให้อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สึกที่ดีขึ้น 2.มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดน้อยลง 3.อาสาสมัครมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้าใจผู้ป่วยยิ่งขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร

    วันที่ 11 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกชอบมากที่ทาง อบต.จัดโครงการนี้เพราะปัจจุบันคนเป็นโรคซึมเศร้ากันมาก พร้อมทั้งวิทยากรได้ให้ความรู้หลากหลายมากเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

     

    120 110

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผู้เข้าร่วมโครงการรู้สึกชอบมากที่ทาง อบต.จัดโครงการนี้เพราะปัจจุบันคนเป็นโรคซึมเศร้ากันมาก พร้อมทั้งวิทยากรได้ให้ความรู้หลากหลายมากเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
    ตัวชี้วัด :

     

    2 -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ทำให้มีสมาธิ ได้รับเพลิดเพลินช่วยให้อารมณ์และความรู้สึกของผู้ป่วยดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีสภาพจิตใจที่สดใสขึ้น

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องซึมเศร้ามากขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า (2) -เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้เข้าร่วมกิจกรรมที่ทำให้มีสมาธิ ได้รับเพลิดเพลินช่วยให้อารมณ์และความรู้สึกของผู้ป่วยดีขึ้น (3) เพื่อให้อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคซึมเศร้า/อาสาสมัคร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด