กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา


“ โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564 ”

ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564

ที่อยู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-01-09 เลขที่ข้อตกลง 0017/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ธันวาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3339-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากและฟันของคนไทย พบว่า กลุ่มเด็กปฐมวัยเริ่มมีฟันน้ำนมผุร้อยละ 3 ตั้งแต่อายุ 9 เดือน และเพิ่มเป็นร้อยละ 51.7 เมื่ออายุ 3 ปี และจะเพิ่มสูงมากขึ้น ร้อยละ 97.5 เมื่ออายุ 5 ปี เด็กวัยเรียนที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นในปาก ช่วงอายุ 12 ปี ร้อยละ 52.2 เป็นโรคฟันผุ และร้อยละ 50 พบเหงือกอักเสบ ส่วนใหญ่เกิดจากการบริโภคอาหาร เช่น เบเกอรี่ ขนม ลูกอม และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง และเด็กไม่ได้รับการฝึกทักษะในการดูแลทำความสะอาดช่องปากให้สะอาดเพียงพอ กลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน พบปัญหาฟันผุบริเวณซอกฟันและเริ่มเป็นโรคปริทันต์ โดยผู้ที่ฟันผุยังไม่ไปรับการรักษา ร้อยละ 35.2 และพบโรคปริทันต์รุนแรงที่เสี่ยงต่อการสูญเสียฟัน ร้อยละ 15.6 ซึ่งส่วนหนึ่งจะพบภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าปัญหาหลักคือไม่มีฟันธรรมชาติเหลือพอในการบดเคี้ยวอาหาร มีการสูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ ร้อยละ 83 สูญเสียฟัน ทั้งปาก ร้อยละ 7.2 แต่ด้วยการดำเนินงานโครงการฟันเทียมพระราชทานจึงทำให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องใส่ฟันทั้งปากลดลงเหลือร้อยละ 2.5 แต่หากคิดเป็นจำนวนยังคงสูงถึง 250,000คนและยังพบปัญหาฟันผุ รากฟันผุ โรคปริทันต์ มะเร็งช่องปาก ภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะในช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพช่องปากใน ทุกกลุ่มวัยอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมีจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ในพื้นที่ตำบลหารเทาประจำปี 2564 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับทุกกลุ่มวัย เพื่อให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแล้วยังมีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย
  2. เพื่อให้ทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  3. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมสุขภาพในช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ
  2. จัดประชุมอสมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อชี้แจงโครงการจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานตามโครงการ
  3. ออกปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชน จำนวน 11 หมู่บ้าน ให้ความรู้ฝึกทักษะ ตรวจสุขภาพช่องปาก
  4. ติดตาม รักษา ส่งต่อประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 350
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,200
กลุ่มวัยทำงาน 635
กลุ่มผู้สูงอายุ 320
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 220
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ทุกกลุ่มวัยได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก
    1. เพื่อให้ทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจช่องปาก
  2. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพในช่องปากของทุกกลุ่มวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของทุกกลุ่มวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
40.00 80.00

 

2 เพื่อให้ทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 45 ของทุกกลุ่มวัย ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
30.00 45.00

 

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมสุขภาพในช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของภาคีเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในช่องปาก
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2755
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 350
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1,200
กลุ่มวัยทำงาน 635
กลุ่มผู้สูงอายุ 320
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 220
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย (2) เพื่อให้ทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการสร้างเสริมสุขภาพในช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล  จัดทำโครงการ แผนปฏิบัติงานตามโครงการ (2) จัดประชุมอสมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อชี้แจงโครงการจัดตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานตามโครงการ (3) ออกปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชน จำนวน  11  หมู่บ้าน  ให้ความรู้ฝึกทักษะ  ตรวจสุขภาพช่องปาก (4) ติดตาม รักษา ส่งต่อประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมดูแลสุขอนามัยในช่องปากทุกกลุ่มวัย ตำบลหารเทา ปี2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3339-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.บ้านฝาละมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด