กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมมาศ โลหะจินดา

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5307-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล
    โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น “ภัยเงียบ”เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมากและทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงและอาจสูญเสียอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ตา เท้า ไต และหัวใจ สาเหตุเกิดจากพันธุกรรม และสาเหตุหลักคือ การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งการบริโภคผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียดการสูบบุหรี่และดื่มสุรา จากข้อมูลสถิติกองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560ถึง 2562 อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรระดับประเทศ มีดังนี้ 1.ร้อยละ2,091.282.ร้อยละ2,245.09และ 3. ร้อยละ 2,388.84ตามลำดับและข้อมูลอัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อแสนประชากรมีดังนี้ 1. ร้อยละ 1,344.952.ร้อยละ 1,439.04 และ 3. ร้อยละ 1,528.91 ตามลำดับ จากข้อมูลข้างต้นพบว่าอัตราผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานต่อแสนประชากรมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปีจากข้อมูลสถิติกองยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลตั้งแต่ปีพ.ศ.2560ถึง 2562อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากรระดับจังหวัดสตูล มีดังนี้ 1.ร้อยละ1,376.882.ร้อยละ 1,601.81และ 3. ร้อยละ 1,648.41ตามลำดับและข้อมูลอัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อแสนประชากรมีดังนี้ 1. ร้อยละ 852.972.ร้อยละ 1,005.51 และ 3. ร้อยละ 1,004.14 ตามลำดับจากข้อมูลข้างต้นพบว่าอัตราผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานต่อแสนประชากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
    จากข้อมูลที่ได้จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี พ.ศ. 2562 – 2563 ของ รพ.สต.ตำบลบ้านควน พบกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง 1.จำนวน161คนคิดเป็นร้อยละ 10.50 2. จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 6.69ตามลำดับกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 1. จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ5.22 และ2. จำนวน91คนคิดเป็นร้อยละ 5.80 ตามลำดับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 1.จำนวน 62 คนคิดเป็นร้อยละ 3.35และ 2. จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 4.68 ตามลำดับกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน1.จำนวน18คน คิดเป็นร้อยละ 0.97 และ 2. จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 1.23 ตามลำดับจากข้อมูลข้างต้นพบว่ากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควนจึงจัดทำโครงการคัดกรองค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงดูแลให้ได้รับความรู้3อ.2ส. และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวให้แกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ และกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการส่งต่อพบเจ้าหน้าที่รพ.สต. เพื่อพิจารณาส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยโรคโดยเร็วได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ รักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถประเมินและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องมีแบบแผนการดำเนินชีวิตที่สอดคล้องเหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชนบ้านควน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ส่งต่อให้ได้รับวินิจฉัยเร็วที่สุด
  3. เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ติดตาม จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย
  2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง คนละ 1 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มทำ 3 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป 2,425

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทุกคน
2.ผู้ป่วยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
3.กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการติดตามภาวะสุขภาพ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ติดตาม จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย

วันที่ 7 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชน อายุ 35 ปี ขึ้นไป ติดตาม จำนวน 3 ครั้ง โดยวิธี ประชาสัมพันธ์โครงการและเผยแพร่ในเรื่องการตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตสูง ตรวจหาระดับนำ้ตาลในเลือด เพื่อเป็นการตรวจโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยวิธีการสัมภาภาษณ์และบันทึกวิเคราะห์ผลการคัดกรอง  แยกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่ต้องส่งต่อ และตรวจคัดกรองในโปรแกรม JHCIS เพื่อส่ง สปสช.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์  ร้อยละ 100
ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.31
ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.19

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง คนละ 1 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มทำ 3 วัน

วันที่ 26 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง คนละ 1 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มทำ 3 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังไม่กลายเป็นกลุ่มป่วย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
89.78 95.00 90.00

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ส่งต่อให้ได้รับวินิจฉัยเร็วที่สุด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ได้รับการส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์
0.00 100.00 100.00

 

3 เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ไม่กลายเป็นกลุ่มป่วย
0.76 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2425 2425
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป 2,425 2,425

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ส่งต่อให้ได้รับวินิจฉัยเร็วที่สุด (3) เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยง  ไม่ให้กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ให้บริการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ติดตาม จำนวน 3 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย  ประกอบด้วย (2) กิจกรรมที่ 2 ติดตามภาวะสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง คนละ 1 ครั้ง โดยแบ่งกลุ่มทำ 3 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลบ้านควน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5307-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมมาศ โลหะจินดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด