กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรัญชิดา เนียวกุล

ชื่อโครงการ โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3013-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3013-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กุมภาพันธ์ 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจภาวะสุขภาพประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปจะมีภาวะรอบเอวเกิน หากไม่รีบควบคุมและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้เป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมาได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดนิ่วในถุงน้ำดี และมะเร็ง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจึงควรมีการปรับเปลี่ยนทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อให้มีการใช้พลังงานให้สมดุลกัน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง การจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ พิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อให้มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกายในการควบคุมภาวะน้ำหนักเกินที่ถูกต้อง เน้นที่การปฏิบัติโดยส่งเสริมให้ประชากรที่ศึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อให้พฤติกรรมนั้นคงอยู่ตลอดไปโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจึงเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ ว่าผลสำเร็จของการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายเกิดผลลัพธ์ว่ามีการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัว และลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ

  จากเหตุผลดังกล่าวชมรมแอโรบิคตำบลบานา ได้ตระหนักและความจำเป็นต่อการจัดการแก้ไขปัญหาสภาวะสุขภาพของประชาชนตำบลบานาเพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดโรคลดลดพุงจึงได้จัดโครงการแอโรบิคบาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกลุ่มผู้นำ คณะกรรมการ และสมาชิก (แอโรบิคและบาสโลบ)
  2. ตรวจคัดกรองสุขภาพ
  3. การเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน ด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ
  4. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโดยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ
  5. ออกกำลังกาย โดยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ
  6. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ
  7. ประชุมผู้นำ คณะทำงาน และสมาชิก เพื่อประเมินผลการคัดกรองสุขภาพและนำเสนอรูปแบบการเต้นแอโรบิกและบาสโลบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
  8. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 1
  9. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 1
  10. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 2
  11. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 2
  12. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 3
  13. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงลดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ

2.ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

3.ส่งเสริมความสามัคคีแก่หมู่คณะ

4.เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชนต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ออกกำลังกาย โดยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

3. ประชุมผู้นำ คณะทำงาน และสมาชิก เพื่อประเมินผลการคัดกรองสุขภาพและนำเสนอรูปแบบการเต้นแอโรบิกและบาสโลบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

4. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 1

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

5. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 2

วันที่ 20 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

14 0

6. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 2

วันที่ 7 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

7. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 3

วันที่ 21 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

14 0

8. ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 3

วันที่ 13 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

30 0

9. ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 4

วันที่ 19 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

14 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน
80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.
80.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม3อ.2ส. (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกลุ่มผู้นำ คณะกรรมการ และสมาชิก (แอโรบิคและบาสโลบ) (2) ตรวจคัดกรองสุขภาพ (3) การเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจำวัน ด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ (4) ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโดยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ (5) ออกกำลังกาย โดยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ (6) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย ด้วยการเต้นแอโรบิคและบาสโลบ (7) ประชุมผู้นำ คณะทำงาน และสมาชิก เพื่อประเมินผลการคัดกรองสุขภาพและนำเสนอรูปแบบการเต้นแอโรบิกและบาสโลบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย (8) ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 1 (9) ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 1 (10) ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 2 (11) ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 2 (12) ตรวจคัดกรองสุขภาพ(ชั่งน้ำหนัก  วัดรอบเอว คัดกรองเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง ฯลฯ) ครั้งที่ 3 (13) ประชุมคณะกรรมการชมรม ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแอโรบิค บาสโลบ พิชิตโรค พิชิตพุง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3013-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรัญชิดา เนียวกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด