กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาโภชนาการเด็กในโรงเรียนบ้านหว้าหลัง
รหัสโครงการ 64-L5182-02-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหว้าหลัง
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 มกราคม 2564 - 9 เมษายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 33,225.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุทธิชา เพิ่มบุญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านหว้าหลัง ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 4 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 23 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
80.00
2 จำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้า
15.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาชาติที่สำคัญคือการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเรียนรู้เพื่อให้มีศักยภาพสูงสุด อันเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน อันดับแรกของการพัฒนาคนคือการพัฒนาสุขภาพอนามัยเพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณธรรม จริยธรรมของเด็ก อาหารนับเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ประโยชน์ของการรับประทานอาหารมื้อเช้าส่งผลต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสมองของเด็กๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละของนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

ร้อยละของนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น

80.00 85.00
2 จำนวนนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้า

จำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้าลดลง

15.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,225.00 5 33,225.00
19 ม.ค. 64 การประกาศนโยบายสาธารณะด้านอาหารของโรงเรียน เกิดกติกาหรือข้อตกลงร่วม เกิดมาตรการของโรงเรียน 0 575.00 575.00
20 ม.ค. 64 การอบรมให้ความรู้ การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลการพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา 0 3,050.00 3,050.00
22 ม.ค. 64 - 9 เม.ย. 64 การจัดอาหารเช้าแก่เด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า 0 16,500.00 16,500.00
22 ม.ค. 64 - 9 เม.ย. 64 การประเมินภาวะโภชนาการการเจริญเติบโตของเด็ก 0 0.00 0.00
26 ม.ค. 64 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหารการเพิ่มแหล่งผลิตอาหารสุขภาพ การมีอาหารคุณภาพ ปลอดภัย และการใช้ประโยชน์ 0 13,100.00 13,100.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทำให้มีจิตใจร่าเริงแจ่มใสและมีสุขภาพกายที่ดีขึ้น
  2. นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบถ้วนทุกคน
  3. นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
  4. นักเรียนมีพฤติกรรมในการรับประทานอาหารเช้าจนติดเป็นนิสัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2563 15:31 น.