กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-02-18 เลขที่ข้อตกลง 27/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3351-02-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการกำจัดขยะเป็นปัญหาใหญ่ของหลายๆ ประเทศ แม้ในประเทศไทยเองก็กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัดขยะ เช่น หาพื้นที่ว่างเปล่าห่างไกลเป็นที่ทิ้งขยะ หรือแม้แต่การแสวงหาหนทางทางชีวปฎิบัติใดๆ วิธีการต่างๆ ก็ยังไม่สามารถหาจุดสมดุลได้ ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะทุกวันนี้ คนไทยกว่า 60 ล้านคน สามารถสร้างขยะได้มากถึง 14 ล้านตันต่อปี แต่ความสามารถ ในการจัดเก็บขยะกลับมีไม่ถึง 70% ของขยะที่เกิดขึ้น จึงทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้างและปัญหาทางมลภาวะต่างๆ คือ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ 2. น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้นเมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำทำให้เกิดมลภาวะมลพิษทางน้ำ 3. แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน ซึ่งการไม่แยกประเภทของขยะนั้นเป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ เมื่อขยะหลาย ๆ ประเภทถูกทิ้งรวมกันโดยไม่ได้แยกประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะที่สามารถนำมารีไซเคิล และขยะที่เป็นพิษ สารเคมีต่างๆจากขยะที่เป็นพิษจะไหลลงสู่พื้นดิน ถ้าขยะที่ไม่ได้แยกประเภทถูกนำไปเผารวมกันก็จะก่อให้เกิดแก๊สพิษ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้การที่ไม่แยกประเภทขยะ ทำให้ขยะบางประเภทซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ เช่น ขวดพลาสติก แก้วพลาสติก กระดาษ นั้นยากต่อการแยกประเภท ทำให้เกิดการสิ้นเปลืองทรัพยากรมากขึ้นซึ่งผลจากการไม่แยกประเภทของขยะนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว จึงจัดทำโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัยขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะ การทิ้ง การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี รวมทั้งขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง จากการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งผลให้มีการจัดการขยะโดยชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
  2. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
  3. เพื่อให้บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70
  4. เพื่อลดปริมาณขยะลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  2. กิจกรรมที่ 2 การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาพ+การทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)
  3. เรียนรู้ร่วมกัน
  4. เรียนรู้ร่วมกัน
  5. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนและการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  6. การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาาพและการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ทุกครอบครัวกลุ่มเป้าหมายมีการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  • อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอุจจาระร่วง ทุกครัวเรือนในกลุ่มเป้าหมายลดลง
  • บ้านเรือน หมู่บ้าน ชุมชน น่าอยู่ น่ามอง ร้อยละ 70 ของครัวเรือน
  • มีผลิตภัณฑ์ชุมชนจากการจัดการขยะอินทรีย์ จำนวน 2 ชิ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานตามโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ซึ่งพบว่าโดยทั่วไปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้เป็นขยะที่มาจากธรรมชาติหรือสิ่งมีชีวิต สามารถย่อยสลายได้ง่ายโดยกระบวนการตามธรรมชาติเช่น เศษอาหาร ผักผลไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ใบไม้ คิดเป็นร้อยละ 46 ขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นขยะของเสียบรรจุดภัณฑ์หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้หรือรีไชเคิลได้ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะและกล่องเครื่องดื่ม คิดเป็นร้อยละ 42 โดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านทุ่่งยาว ได้ดำเนินการคัดแยกขยะต้นทางในครัวเรือน ขยะ 2 ประเภทมนี้ก่อน ซึ่งขยะส่วนใหญ่จากครัวเรือนในการดำเนินโครงการครั้งนี้ครัวเรือนในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดเภัย หมู่บ้านละ 40 ครัวเรือน รวม 120 ครัวเรือน ส่งผลให้ไม่มีอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารในพื้นที่รับผิดชอบ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านมีธรรมนูญสุขภาพ 3 หมู่บ้าน
3.00 3.00 3.00

 

2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ชุมชน/หมู่บ้าน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จำนวน 3 ชุมชน/หมู่บ้าน
3.00 3.00 3.00

 

3 เพื่อให้บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน สะอาด ปลอดภัย ร้อยละ 70
0.00 60.00 60.00

 

4 เพื่อลดปริมาณขยะลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะลดลง ร้อยละ 30
100.00 70.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบทั้ง 3 หมู่บ้าน (2) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (3) เพื่อให้บ้านเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70 (4) เพื่อลดปริมาณขยะลง ร้อยละ 30 ของขยะทั้งหมด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (2) กิจกรรมที่ 2 การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาพ+การทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์) (3) เรียนรู้ร่วมกัน (4) เรียนรู้ร่วมกัน (5) อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (6) การแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน(การทำน้ำหมักชีวภาาพและการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-02-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด