โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนมูฮัมมาดียะห์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่
มิถุนายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 1 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2981-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 1 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่ถือเป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพทั้งต่อผู้สูบและผู้ที่อยู่รอบข้าง และยังถือเป็นสาเหตุลำดับที่สองของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรในคนไทย จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ.2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน 11.4ล้านคน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคน อยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6 และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และผู้หญิงร้อยละ 2.2 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว2-3 แสนคนต่อปี คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน และเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสอง หากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8 ล้านคน ใน 20 ปีข้างหน้า และจากข้อมูลสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัดพบว่า ในปี 2557 จังหวัดปัตตานีมีอัตราการสูบบุหรี่ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป อยู่ที่ร้อยละ 28 เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ และมีอัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายอายุ 15 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 57 นอกจากนี้ยังพบรายงานการวิจัยการประเมินสถานการณ์ยาสูบจังหวัดปัตตานี เพื่อการเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ปี 2556 สุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่จำนวน 1,762 ราย พบว่า อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่อยู่ที่ 17 ปี และพบอายุต่ำที่สุดที่เริ่มสูบคือ อายุ 7 ปี
ในพื้นที่ตำบลนาประดู่ มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,160 คน มีประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 941 คน เป็นเพศชาย 464 คน และเพศหญิง 464 คน ปัจจุบันมีเยาวชนจำนวนไม่น้อยมีการสูบบุหรี่ตั้งแต่อายุยังน้อย และการร่วมกลุ่มกันของเยาวชนหรือวัยรุ่นในวัยอยากรู้อยากลองนี้ ทำให้เสี่ยงต่อการชักชวนกันสูบบุหรี่ในโรงเรียนมากขึ้น การให้ความรู้และทำความเข้าใจหรือการปรับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ จะเป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้เยาวชนรู้เท่าทันและป้องกันตนเองจากบุหรี่ได้ไม่มากก็น้อย อีกทั้งใน ปัจจุบันเยาวชนและประชาชนจำนวนไม่น้อยยังมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ในเขตโรงเรียน สถานที่ราชการ และสถานที่สาธารณะ สาเหตุหนึ่งมาจากขาดการทำข้อตกลงที่ชัดเจนและกำหนดพื้นที่เฉพาะสำหรับผู้สูบบุหรี่ ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสให้เกิดนักสูบรายใหม่ และเป็นการเพิ่มโอกาสให้นักสูบรายเก่าสูบบุหรี่มากขึ้น ยากต่อการเลิกบุหรี่ และยังเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดโทษแก่ผู้ที่อยู่รอบข้าง ได้รับควันบุหรี่มือสองและสร้างความรำคาญ จากการสำรวจ พบว่าโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ถือเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง และเป็นพื้นที่มีความน่าสนใจในการจัดทำโครงการ ในการนี้องค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่เล็งเห็นถึงความสำคัญ และประเด็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ในปีงบประมาณ 2564 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
- เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
- เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพิ่มผู้ขับเคลื่อนการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
- กิจกรรมบริการช่วยเลิกหรือส่งเสริมการเลิกยาสูบอย่างเป็นระบบ
- เพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้ข้อบังคับหรือกฏโรงเรียนโดยการสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน สำหรับควบคุมการสูบบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีฐานข้อมูลของผู้สูบบุหรี่ในโรงเรียน ผู้สูบที่ต้องการเลิก หรือ พยายามเลิกแล้วไม่สำเร็จ
2.เยาวชนและประชาชนมีความรู้ และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับภัยของบุหรี่และเคล็ดลับการเลิกบุหรี่
3.มีนโยบายการจัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
4.เกิดกลุ่ม / ชมรม เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันในโรงเรียน และกลุ่มอาสาเฝ้าระวังบุหรี่ในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
30.00
25.00
2
เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (ร้อยละ)
40.00
30.00
3
เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
ตัวชี้วัด : อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)
20.00
10.00
4
เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
0.00
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (4) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพิ่มผู้ขับเคลื่อนการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน (2) กิจกรรมบริการช่วยเลิกหรือส่งเสริมการเลิกยาสูบอย่างเป็นระบบ (3) เพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้ข้อบังคับหรือกฏโรงเรียนโดยการสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน สำหรับควบคุมการสูบบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนมูฮัมมาดียะห์
มิถุนายน 2564
ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 1 มิถุนายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2981-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 1 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่ถือเป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพทั้งต่อผู้สูบและผู้ที่อยู่รอบข้าง และยังถือเป็นสาเหตุลำดับที่สองของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรในคนไทย จากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ.2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน 11.4ล้านคน อัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคน อยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6 และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และผู้หญิงร้อยละ 2.2 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว2-3 แสนคนต่อปี คนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คน และเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสอง หากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8 ล้านคน ใน 20 ปีข้างหน้า และจากข้อมูลสถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัดพบว่า ในปี 2557 จังหวัดปัตตานีมีอัตราการสูบบุหรี่ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป อยู่ที่ร้อยละ 28 เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ และมีอัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายอายุ 15 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 57 นอกจากนี้ยังพบรายงานการวิจัยการประเมินสถานการณ์ยาสูบจังหวัดปัตตานี เพื่อการเปลี่ยนแปลงของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ปี 2556 สุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่จำนวน 1,762 ราย พบว่า อายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่อยู่ที่ 17 ปี และพบอายุต่ำที่สุดที่เริ่มสูบคือ อายุ 7 ปี ในพื้นที่ตำบลนาประดู่ มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,160 คน มีประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 941 คน เป็นเพศชาย 464 คน และเพศหญิง 464 คน ปัจจุบันมีเยาวชนจำนวนไม่น้อยมีการสูบบุหรี่ตั้งแต่อายุยังน้อย และการร่วมกลุ่มกันของเยาวชนหรือวัยรุ่นในวัยอยากรู้อยากลองนี้ ทำให้เสี่ยงต่อการชักชวนกันสูบบุหรี่ในโรงเรียนมากขึ้น การให้ความรู้และทำความเข้าใจหรือการปรับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ จะเป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้เยาวชนรู้เท่าทันและป้องกันตนเองจากบุหรี่ได้ไม่มากก็น้อย อีกทั้งใน ปัจจุบันเยาวชนและประชาชนจำนวนไม่น้อยยังมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ในเขตโรงเรียน สถานที่ราชการ และสถานที่สาธารณะ สาเหตุหนึ่งมาจากขาดการทำข้อตกลงที่ชัดเจนและกำหนดพื้นที่เฉพาะสำหรับผู้สูบบุหรี่ ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสให้เกิดนักสูบรายใหม่ และเป็นการเพิ่มโอกาสให้นักสูบรายเก่าสูบบุหรี่มากขึ้น ยากต่อการเลิกบุหรี่ และยังเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดโทษแก่ผู้ที่อยู่รอบข้าง ได้รับควันบุหรี่มือสองและสร้างความรำคาญ จากการสำรวจ พบว่าโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ถือเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความเสี่ยงสูง และเป็นพื้นที่มีความน่าสนใจในการจัดทำโครงการ ในการนี้องค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่เล็งเห็นถึงความสำคัญ และประเด็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ในปีงบประมาณ 2564 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
- เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
- เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพิ่มผู้ขับเคลื่อนการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
- กิจกรรมบริการช่วยเลิกหรือส่งเสริมการเลิกยาสูบอย่างเป็นระบบ
- เพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้ข้อบังคับหรือกฏโรงเรียนโดยการสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน สำหรับควบคุมการสูบบุหรี่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีฐานข้อมูลของผู้สูบบุหรี่ในโรงเรียน ผู้สูบที่ต้องการเลิก หรือ พยายามเลิกแล้วไม่สำเร็จ
2.เยาวชนและประชาชนมีความรู้ และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับภัยของบุหรี่และเคล็ดลับการเลิกบุหรี่
3.มีนโยบายการจัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
4.เกิดกลุ่ม / ชมรม เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันในโรงเรียน และกลุ่มอาสาเฝ้าระวังบุหรี่ในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ) |
30.00 | 25.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (ร้อยละ) |
40.00 | 30.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน ตัวชี้วัด : อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ) |
20.00 | 10.00 |
|
|
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน) |
0.00 | 3.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (4) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพิ่มผู้ขับเคลื่อนการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน (2) กิจกรรมบริการช่วยเลิกหรือส่งเสริมการเลิกยาสูบอย่างเป็นระบบ (3) เพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้ข้อบังคับหรือกฏโรงเรียนโดยการสร้างและพัฒนามาตรการควบคุมการสูบบุหรี่ในโรงเรียน สำหรับควบคุมการสูบบุหรี่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ในโรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2981-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนมูฮัมมาดียะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......