กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-01-07 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3351-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวิถีชีวิตของประชาชนไทย ได้เปลี่ยนแปลงไปมากโดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่ในเขตเมืองเริ่มมีรูปแบบการบริโภคอาหารต่างไปจากเดิม อันมีผลทำให้เกิดภาวะทุพโภชนาการขึ้นในกลุ่มต่างๆ เช่น โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูง ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงโรคข้อ และอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการควบคู่กับการออกกำลังกายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย นอกจากนี้จะต้องเน้นการดูแลด้านสุขภาพให้ได้รับสารอาหารพอเพียงกับความต้องการของร่างกาย องค์การอนามัยโลกได้ประกาศในปี ค.ศ. ๑๙๙๗ ว่า ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไข เนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจน โรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม ภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาต ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง มะเร็งลำไส้ โรคซึมเศร้า เป็นต้น และยังพบว่าการตายในผู้ที่อายุระหว่าง ๒๐-๗๔ ปี กว่าครึ่งหนึ่ง มีผลมาจากความอ้วน ซึ่งโรคหัวใจและหลอดเลือดยังเป็นสาเหตุการตายของคนทั่วโลกปีละ ๑๗ล้านคนและมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นโดยคาดว่าอีก ๑๕ ปีข้างหน้าหรือในปีพ.ศ.๒๕๖๕ ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวประมาณ๒๕ล้านคนซึ่งจะมีประชากรในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาประมาณ ๑๙ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๖ ของผู้เสียชีวิตทั้งหมดปัญหาสุขภาพเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค เป็นภาระของครอบครัวและประเทศนอกจากนี้ยังปรากฏว่า ร้อยละ ๒-๘ ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจากโรคอ้วน ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปในอีก ๑๐ ปีข้างหน้าค่าใช้จ่ายในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนมาก ในทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้หลายประเทศทั่วโลกมีปัญหาเกี่ยวกับความชุกของภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มอายุอย่างรวดเร็ว
โรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) เป็นฆาตกรเงียบที่หลายคนคาดไม่ถึง คนที่อ้วนลงพุง จะมีการสะสมของไขมันในช่องท้องมากเกินไป โดยมีเส้นรอบเอวของเพศชายเกิน ๓๖ นิ้ว หรือ ๙๐ เซนติเมตร เพศหญิงเกิน ๓๒ นิ้ว หรือ ๘๐เซนติเมตรซึ่งไขมันเหล่านี้จะแตกตัวเป็นกรดไขมันอิสระเข้าสู่ตับ มีผลให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่ดี เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน
หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพและการลดรอบเอวเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดีคือ การดูแลและให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหารการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการดูแลสุขภาพจิต และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จะช่วยป้องกันการเกิดโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ให้หลากหลายและพอเพียง งดหวานมัน เค็มหมั่นดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่กับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ หากไม่มีเวลาออกกำลังกายมากพอก็ควรเดินให้ได้วันละ ๑๐,๐๐๐ ก้าว และพักผ่อนให้เพียงพอถ้าน้ำหนักตัวลดลง ร้อยละ ๕-๑๐ ของน้ำหนักเดิม ไขมันในช่องท้องจะลดลงไปได้ถึงร้อยละ ๓๐ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวจึงจัดตั้งคลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity Change Clinic : DPAC) ในชมรมสร้างสุขภาพในสังกัดหน่วยงานและผู้รับบริการที่ดัชนีมวลกายเกินเพื่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มสมาชิกด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้งานส่งเสริมสุขภาพอนามัยกลุ่มสมาชิกชมรมสร้างสุขภาพ โดยทั่วหน้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงทุกคน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีรอบเอวเข้าสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 30

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงที่สมัครใจลดความอ้วน จำนวน 25 คน
  2. ประเมินค่าดัชนีมวลกาย กลุ่มเป้าหมาย ก่อน - หลังเข้าร่วมกิจกรรม ตามโครงการ
  3. เรียนรู้ร่วมกัน
  4. กลุ่มเสี่ยงออกกำลังกายแบบแอโรบิคลดพุง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวจัดบริการตรวจสุขภาพประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง และคัดกรองต่อโรคอ้วนลงพุงทุกคน
  • จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการคลินิกไร้พุงรอบเอวปกติ ร้อยละ 30
  • อัตราการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงที่สมัครใจลดความอ้วน จำนวน 25 คน

วันที่ 7 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดบริการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
  • จัดอบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงที่สมัครใจลดความอ้วน
  • ออกกำลังกายต่อเนื่อง และปฏิบัติตามหลัก 3 อ 2 ส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงได้รับการประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง - กลุ่มเป้าหมายที่รอบเองเกินเข้าร่วมกิจกรรมที่รอบเอวเข้าสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 60

 

0 0

2. เรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

 

0 0

3. กลุ่มเสี่ยงออกกำลังกายแบบแอโรบิคลดพุง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด

 

0 0

4. ประเมินค่าดัชนีมวลกาย กลุ่มเป้าหมาย ก่อน - หลังเข้าร่วมกิจกรรม ตามโครงการ

วันที่ 21 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสุขภาพเบื้องต้น
  • ประเมินดัชนีมวลกาย กลุ่มเป้าหมาย ก่อน - หลัง เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มเป้าหมายที่รอบเอวเกินเข้าร่วมกิจกรรมมีรอบเอวเข้า ดัชนีมวลกายสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 60

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานโครงการคลินิก DPAC กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 25 คน ซึ่งมีรอบเอวเกิน มาตรฐาน สมัครใจเข้าร่วมโครงการ ฯ เพื่อลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หลังจากการดำเนินโครงการพบว่า กลุ่มเป้าหมายรอบเองลดลงร้อยละ 60 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 1.29 ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงทุกคน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุง ได้รับการประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง ทุกคน
25.00 25.00 25.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีรอบเอวเข้าสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 30
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่รอบเอวเกินเข้าร่วมกิจกรรมมีรอบเอวเข้าสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 30
8.00 8.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงทุกคน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีรอบเอวเข้าสู่ภาวะปกติ ร้อยละ 30

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงที่สมัครใจลดความอ้วน จำนวน 25 คน (2) ประเมินค่าดัชนีมวลกาย กลุ่มเป้าหมาย ก่อน - หลังเข้าร่วมกิจกรรม ตามโครงการ (3) เรียนรู้ร่วมกัน (4) กลุ่มเสี่ยงออกกำลังกายแบบแอโรบิคลดพุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคลินิก DPAC สุขใจไร้พุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3351-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด