กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ

ชื่อโครงการ โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-50110-1-4 เลขที่ข้อตกลง 4/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2563 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-50110-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2563 - 26 กุมภาพันธ์ 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,485.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในหญิงไทย พบมีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 8,200 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยพบรายใหม่และผู้ป่วยเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 600,000 คนทั่วประเทศ การทำการตรวจคัดกรองมะเร็ง  เต้านมและมะเร็งปากมดลูกอย่างต่อเนื่องจะสามารถควบคุมการดำเนินของโรคได้ ซึ่งการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเองจะสามารถค้นหาความผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว ส่วนการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear มีผลการศึกษาวิจัยทั่วโลกว่าสามารถลดอุบัติการณ์ และอัตราตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้มากกว่าร้อยละ 80 ถ้าทำได้อย่างมีคุณภาพและมีความครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายทั้งหมดได้สูง จากผลการศึกษาในหลายประเทศแสดงให้เห็นว่าการตรวจคัดกรองด้วยการทำ Pap Smear ให้ครอบคลุมกลุ่มสตรีเป้าหมายทั้งหมด มีความสำคัญต่อการลดอัตราการเกิดและตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกมากกว่าความถี่ที่ได้รับการตรวจแต่ไม่ครอบคลุมประชากรทั้งหมด
      ตำบลตะโละกาโปร์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี จำนวน 1,447 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แล้วในปี 2563 จำนวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 20.73 ในปี 2564 ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นอีก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มสตรีดังกล่าวจึงได้ จัดทำโครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดยการค้นหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงค้นพบในระยะเริ่มแรกเข้ารับการบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อให้การรักษาและส่งต่อได้อย่างทันท่วงที ส่งผลต่อการมีสุขภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  2. หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นหรือมากกว่าร้อยละ 20
  3. เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการและกลุ่มเป้าหมายแก่อาสาสมัครสาธารณสุขต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และผู้ดำเนินการ เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ
  2. กิจกรรม ที่ 2 ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดย แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 50 คน เป็นเวลา 6 วัน
  4. กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 300
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ไม่พบผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกในปี 2564       2. ประชาชน ชุมชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพด้วยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกก่อนเจ็บป่วย       3. ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม ที่ 2 ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดย แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจ

 

0 0

2. กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการและกลุ่มเป้าหมายแก่อาสาสมัครสาธารณสุขต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และผู้ดำเนินการ เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแก่อาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มสตรีมีความสนใจในการมารับบริการการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

 

68 0

3. กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 300 คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 50 คน เป็นเวลา 6 วัน

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมกุ่มเป้าหมายให้มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเรื่องมะเร็งมากยิ่งขึ้น

 

300 0

4. กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

วันที่ 13 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญในการตรวจมะเร็ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นหรือมากกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 300
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 (2) หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นหรือมากกว่าร้อยละ 20 (3) เพื่อลดอัตราการป่วย/ตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการและกลุ่มเป้าหมายแก่อาสาสมัครสาธารณสุขต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และผู้ดำเนินการ เพื่อสร้างความตระหนักชักชวนให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมารับการตรวจ (2) กิจกรรม ที่ 2 ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม โดย แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข  กลุ่มแม่บ้าน  กลุ่มสตรี  กำนัน  ผู้ใหญ่บ้าน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ุ/วัยทำงาน ให้ความรู้เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน  300  คน โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นๆละ 50  คน เป็นเวลา  6  วัน (4) กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทุกอังคารและวันศุกร์ ออกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชนตามแผนปฏิบัติงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-50110-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสมีณี ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด