โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ ตาเละ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-50110-5-7 เลขที่ข้อตกลง 7/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-50110-5-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน การระบาดของโรคไข้เลือดมักขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศและความพร้อมในการเตรียมการรับสถานการณ์ของโรค ซึ่งในปัจจุบันไม่สามารถคาดดการณ์ได้ว่าแนวโน้มการะบาดของโรคจะเกิดขึ้นในปีใด
จังหวัดปัตตานีถือเป็นนโยบายสำคัญอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดที่จะลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาสาธารณสุขของจังหวัดปัตตานีอีกต่อไป โดยมุ่งเน้นความพร้อมในการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค และดำเนินการระงับเหตุรำคาญและความชุกของชุมของยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก พื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ย้อนหลัง 5 ปีพบว่า ปี พ.ศ. 2559 จำนวนผู้ป่วย 26 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 331.42 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2560 จำนวนผู้ป่วย 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 63.73 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2561 จำนวนผู้ป่วย 61 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 777.57 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2562 จำนวนผู้ป่วย 49 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 624.60 ต่อแสนประชากร
ปี พ.ศ.2563 จำนวนผู้ป่วย 13 คน คิดเป็นอัตราป่วย 160.23 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่าอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกจะขึ้นลงเป็นเส้นกราฟ ซึ่งมีแนวโน้นที่จะเพิ่มจำนวนผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากความเคร่งครัดและดำเนินงานตามโครงการในปีที่ผ่านมา สามารถช่วยลดอัตราป่วยลงได้ แต่อย่างไรก็ตามการคาดสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วได้และปัจจุบันโรค ไข้เลือดออกเป็น โรคติดต่อที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล โดยเฉพาะหากมีแหล่งหรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพาะ พันธ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค ดังนั้นการควบคุมป้องกันและการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกจึงเป็นสิ่งสำคัญใน ลดอัตราการป่วย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทีม SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน และประชาชน ในการช่วยกันควบคุมป้องกันโรค อาทิ เช่น ด้วยการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย คว่ำภาชนะที่เป็นแหล่งน้ำขัง ปิดฝาภาชนะที่ใส่น้ำให้มิดชิด ใส่ปูนแดงกำจัดลุกน้ำยุงลาย รวมถึงการป้องกันไม่ให้โดนยุงกัด โดยการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นต้น และควรเฝ้าระวัง โดยการสำรวจ แหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเป็นประจำเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรค กรณีพบผู้ป่วยในพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความยั่งยืน โดยสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตเอง ให้ชุมชนพัฒนาศักยภาพ มีความเข้มแข็ง สามารถวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ดำเนินการแก้ไขปัญและประเมินผลการดำเนินการได้ด้วยตนเอง รวมถึงสามารถการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้ระดับหนึ่ง แต่ในพื้นที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง จำเป็นต้องมีมาตรการดำเนินการที่เข้มงวด เพื่อเร่งรัดการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนกกลยุทธ์ สร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและทำลายตัวเต็มวัย เพื่อตัดวงจรชีวิตพาหะนำโรคให้ลดลงมากที่สุด ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิ์ภาพการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับพื้นที่ได้ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
- เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลตะโละกาโปร์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
วันที่ 7 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
- ค่าค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 65 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,625 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 65 คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,250 บาท
- ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 3,100 บาท
- ค่าไวนิล ขนาด 1.25 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท) จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
รวม เป็นเงิน 8,725 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อความสะดวกและความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
65
0
2. กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
วันที่ 7 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
- ค่าสเปรย์ฉีดยุง ขนาด 300 มล. โหลละ 495 บาท X 10 โหล เป็นเงิน 4,950 บาท
- ค่าทรายเคลือบสารทีมีฟอส1% ยี่ห้อคิว-เทเมกส์10 ซอง50กรัม(Q-TEMEGS10)
จำนวน 1 ถังบรรจุ 500 ซอง เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน จำนวน 2 คนๆ ละ 200 บาท จำนวน 6 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท
รวม เป็นเงิน 10,350 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อป้องกันยุงลาย
0
0
3. กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์
วันที่ 14 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 65 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,625 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 65 คนๆละ 50 จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,250 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ เป็นเงิน 3,500 บาท
รวม เป็นเงิน 8,375 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของโรคไข้เลือดออก
65
0
4. กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน
วันที่ 20 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท
รวม เป็นเงิน 2,000 บาท
รวมทั้งหมด เป็นเงิน 29,450 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทุกคนมีความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
65
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ (2) เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์ (3) กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-50110-5-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลเลาะ ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ ตาเละ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-50110-5-7 เลขที่ข้อตกลง 7/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-50110-5-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน การระบาดของโรคไข้เลือดมักขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศและความพร้อมในการเตรียมการรับสถานการณ์ของโรค ซึ่งในปัจจุบันไม่สามารถคาดดการณ์ได้ว่าแนวโน้มการะบาดของโรคจะเกิดขึ้นในปีใด
จังหวัดปัตตานีถือเป็นนโยบายสำคัญอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดที่จะลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาสาธารณสุขของจังหวัดปัตตานีอีกต่อไป โดยมุ่งเน้นความพร้อมในการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค และดำเนินการระงับเหตุรำคาญและความชุกของชุมของยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก พื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ย้อนหลัง 5 ปีพบว่า ปี พ.ศ. 2559 จำนวนผู้ป่วย 26 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 331.42 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2560 จำนวนผู้ป่วย 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 63.73 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2561 จำนวนผู้ป่วย 61 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 777.57 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 2562 จำนวนผู้ป่วย 49 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 624.60 ต่อแสนประชากร
ปี พ.ศ.2563 จำนวนผู้ป่วย 13 คน คิดเป็นอัตราป่วย 160.23 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่าอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกจะขึ้นลงเป็นเส้นกราฟ ซึ่งมีแนวโน้นที่จะเพิ่มจำนวนผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจากความเคร่งครัดและดำเนินงานตามโครงการในปีที่ผ่านมา สามารถช่วยลดอัตราป่วยลงได้ แต่อย่างไรก็ตามการคาดสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วได้และปัจจุบันโรค ไข้เลือดออกเป็น โรคติดต่อที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล โดยเฉพาะหากมีแหล่งหรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพาะ พันธ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค ดังนั้นการควบคุมป้องกันและการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกจึงเป็นสิ่งสำคัญใน ลดอัตราการป่วย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทีม SRRT อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน และประชาชน ในการช่วยกันควบคุมป้องกันโรค อาทิ เช่น ด้วยการทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย คว่ำภาชนะที่เป็นแหล่งน้ำขัง ปิดฝาภาชนะที่ใส่น้ำให้มิดชิด ใส่ปูนแดงกำจัดลุกน้ำยุงลาย รวมถึงการป้องกันไม่ให้โดนยุงกัด โดยการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นต้น และควรเฝ้าระวัง โดยการสำรวจ แหล่ง เพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเป็นประจำเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรค กรณีพบผู้ป่วยในพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความยั่งยืน โดยสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตเอง ให้ชุมชนพัฒนาศักยภาพ มีความเข้มแข็ง สามารถวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ดำเนินการแก้ไขปัญและประเมินผลการดำเนินการได้ด้วยตนเอง รวมถึงสามารถการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้ระดับหนึ่ง แต่ในพื้นที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง จำเป็นต้องมีมาตรการดำเนินการที่เข้มงวด เพื่อเร่งรัดการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนกกลยุทธ์ สร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและทำลายตัวเต็มวัย เพื่อตัดวงจรชีวิตพาหะนำโรคให้ลดลงมากที่สุด ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิ์ภาพการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับพื้นที่ได้ดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
- เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลตะโละกาโปร์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 7 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อความสะดวกและความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
|
65 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 7 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อป้องกันยุงลาย
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 14 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของโรคไข้เลือดออก
|
65 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน |
||
วันที่ 20 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทุกคนมีความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 65 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | 65 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ (2) เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมที่ 2 สำรวจพร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและการประชาสัมพันธ์ (3) กิจกรรมที่ 3 ค่าวัสดุในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีม SRRT ตำบล และทีม SRRT หมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-50110-5-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลเลาะ ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......