กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย


“ โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal ”

ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal

ที่อยู่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสุขภาพของคนไทย จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทำให้มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิตประจำวัน มีการเร่งรีบ มีการแข่งขันในการทำงาน ส่งผลถึงการบริโภคอาหารสำเร็จรูป อาหารถุง ประกอบกับปัจจุบันมีร้านค้าสะดวกซื้อในชุมชนที่เพิ่มมากขึ้น มีรถเร่ขายอาหารถุง ทำให้ปัญหาสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป และก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานตามมา จากการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย ในปี 2561-2563 ได้รับการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีทั้งหมด ร้อยละ 98.56,91.6 และ91.61 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 8.49,4.84 และ 0.88 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 21.91,11.7 และ 17.71 ตามลำดับ พบกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 19.12,10.05 และ 7.91 ตามลำดับ พบกลุ่มป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 5.33,17.78 และ 7.61 ตามลำดับพบกลุ่มที่สามารถควบคุมระดับโรคความดันโลหิตสูงได้ดี ร้อยละ 0,53.88 และ 52.09 ตามลำดับ พบกลุ่มที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล ร้อยละ 5.33,10 และ 13.4 ตามลำดับ
สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย มีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน มีประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด 1,166 คน พบกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 243 คน แยกเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 91 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 152 คน ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและเหมาะสม และด้วยสถานการณ์โรคโควิด 19 ทำให้ต้องปรับระบบการให้บริการในผู้ป่วยด้วยการให้ผู้ป่วยสามารถรับยาได้ที่บ้าน โดยการนำส่งยาผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พร้อมให้ผู้ป่วยวัดความดันโลหิต เบาหวานในหมู่บ้าน เพื่อลดการแออัดในสถานบริการ จึงได้จัดทำโครงการการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตามรูปแบบ New Normal เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ประชาชนเกิดความตระหนัก สามารถสร้างกระแสในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ ส่งผลให้กลุ่มป่วยมีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่1 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารรถควบคุมระดับความดันได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวานสามารรถควบคุมเบาหวานได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 132
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคความดันและโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
  2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่1 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารรถควบคุมระดับความดันได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวานสามารรถควบคุมเบาหวานได้
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง มากกว่าร้อยละ 5 2. กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารรถควบคุมระดับความดันได้ ร้อยละ 60 3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวานสามารรถควบคุมเบาหวานได้ ร้อยละ 40
90.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 132
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 132
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่1 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง
ข้อที่ 2 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารรถควบคุมระดับความดันได้ ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคเบาหวานสามารรถควบคุมเบาหวานได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานตามรูปแบบ New Normal จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด