กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน ”
ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในเด็กนักเรียนและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็กนักเรียนประถมศึกษาซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึก ทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานอาหารรสหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอโรคในช่องปากที่พบบ่อยในเด็กนักเรียน ได้แก่ โรคฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบโรคฟันผุเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยใช้มาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ฟลูออไรด์ การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟันการแปรงฟันที่มีคุณภาพเป็นต้น หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็กโดยการฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดี การส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคฟันผุของเด็กได้แต่สภาพสังคมเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปส่งผลให้แบบแผนการดำรงชีวิตของประชาชนเปลี่ยนไปด้วยทำให้พ่อแม่จำนวนมากต้องทำงานเลี้ยงชีพเป็นหลักหรือมีเวลาเลี้ยงดูลูกน้อยลงนอกจากนี้การพัฒนาการของโฆษณาขนมที่มีรสหวานซึ่งมีการผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย ความเจริญทางการโฆษณามากขึ้นส่งผลให้มีการบริโภคขนมหวานซึ่งมีส่วนประกอบของแป้งและน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคฟันผุง่ายขึ้น จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 (สำนักทันตสาธารณสุข,กรมอนามัย,2560) โดยในภาพรวมประเทศ พบว่าเด็กอายุ 12 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 31.5ภาคใต้เด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 29.5จากข้อมูลในระบบสารสนเทศ HDC จังหวัดปัตตานีปี 2563 เด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 39.71และตำบลปุโละปุโยเด็กอายุ 12 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 29.91
จากการสำรวจสภาวะการเกิดโรคฟันผุในตำบลปุโละปุโย ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ57.1429.58และ 29.91 ตามลำดับแม้ว่าอัตราการเกิดโรคฟันผุในพื้นที่ตำบลปุโละปุโยจะลดลงตามลำดับก็ตาม แต่เมื่อเทียบกับอัตราการเกิดโรคฟันผุในระดับภาคใต้ยังอยู่ในเกณฑ์ที่อัตราฟันผุไม่ได้แตกต่างมากนักอันเนื่องมาจากการแปรงฟันที่ไม่มีประสิทธิภาพความไม่ครอบคลุมในการดำเนินกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันและตอนเช้า (ดำเนินการบางชั้น/บางคน จากการสุ่มสำรวจโรงเรียน 4 แห่ง ใน 7 แห่งของโรงเรียนทั้งหมดในตำบล) จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25ขาดการดูแลเอาใจใส่ของผู้ปกครองในเรื่องทันตสุขภาพ และการบริโภคอาหารหวานของเด็กนักเรียนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโยและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ากูโบได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนตำบลปุโละปุโย ปีงบประมาณ 2564” เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ทัศนคติ และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีซึ่งจะเป็นปัจจัยที่จะสนับสนุนให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ข้อที่ 2เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ข้อที่ 3ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 544
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด
  2. เด็กนักเรียนแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ ความตระหนักและมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ข้อที่ 2เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ข้อที่ 3ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ร้อยละ 80 2. เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ 80 3. ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน ร้อยละ 80
90.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 544
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 544
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี มีสุขภาพช่องปากที่สะอาด ข้อที่ 2เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ข้อที่ 3ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด