กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางธัญลักษณ์ บรรจงดัด และนางสาวณัฐกฤตา ขวัญแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5211-2-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5211-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหาร มีจำนวนนักเรียน 203 คน พบสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาวะเด็กระดับอนุบาลมีนักเรียน 47 คน พบว่ามีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม 11 คน ,อ้วน 3 คน ผอมและเตี้ย 1 คน) รวม 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 15.95 ระดับประถมศึกษามีนักเรียน 114 คน พบว่ามีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม 15 คน,อ้วน 9 คน อ้วนและเตี้ย 1 คน) จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 10.96 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีนักเรียน 42 คน พบว่ามีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม 4 คน ,อ้วน 10 คน อ้วนและเตี้ย 1 คน) จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 17.85 โรงเรียนบ้านหารมีการส่งเสริมการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้า การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่ เพื่อใช้ในการประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ปัจจุบันสามารถจัดสรรผลผลิตที่ได้จากโครงการเกษตรในโรงเรียน ปัจจุบันนักเรียนทั้งหมด 203 คนข้อมูล 10 มิ.ย.63 แต่ยังพบปัญหาผลผลิตที่ได้ยังไม่เพียงพอกับนักเรียน ทางโรงเรียนเล็งเห็นว่าการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนเพื่อลดปัญหาเด็กผอม ค่อนข้างผอม เตี้ยและอ้วน จำเป็นต้องได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ การปลูกผัก การเพาะเห็ดนางฟ้าจะเป็นส่วนที่จะทำให้เด็กเข้าถึงสารอาหารที่มีคุณค่าด้านโภชนาการซึ่งจะช่วยลดปัญหาด้าน สุขภาวะได้วัยเด็กเป็นวัยกำลังเจริญเติบโต การดูแลให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่า และเหมาะสมกับวัยจึงเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้น และในปัจจุบันนี้ผักสดที่ซื้อจากตลาด ไม่ทราบแหล่งที่มา
ไม่แน่ใจว่ามีความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหน อาจมีสารเคมีตกค้าง เมื่อนำมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนส่งผลให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน ซึ่งนำไปสู่โรคภัยต่างๆ มากมาย ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษใช้บริโภคในโครงการอาหารกลางวัน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง ปลอดจากโรคภัยต่างๆ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปสู่ครอบครัวและชุมชน โรงเรียนบ้านหาร ได้ตระหนักถึงสุขภาพของนักเรียน มีความห่วงใยสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ 5 หมู่
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคผักปลอดสารพิษ
  3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีภาวะทุพโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ 5 หมู่
  2. นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคผักปลอดสารพิษ
  3. จำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานลดลง และมีภาวะทุพโภชนาการลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ

วันที่ 8 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดกิจกรรม

 

25 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 8 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

65 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

วันที่ 8 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

 

65 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ 5 หมู่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีภาวะทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 15 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลักโภชนาการ 5 หมู่ (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและการบริโภคผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีภาวะทุพโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้การปลูกผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษ เพื่อโภชนาการสมวัยของนักเรียน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5211-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญลักษณ์ บรรจงดัด และนางสาวณัฐกฤตา ขวัญแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด