โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 ”
ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเยาวรัส ชฎารัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
มีนาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5182-02-9 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5182-02-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,325.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 127 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคอาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว
การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหารจากอดีตที่มีการจัดหาวัสดุอาหารมาดำเนินการปรุง การประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชน สะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือนหรือการจัดเลี้ยงอาหารในรูปแบบต่างๆ มากมาย ดังนั้นการควบคุม ดูแล ให้การประกอบกิจการการจัดบริการอาหารโดยสถานประกอบการด้านอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสม เน้นความสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค จึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่ปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้
ดังนั้น เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า จึงมีแผนที่จะให้โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 วัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่่เฝ้าทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การตรวจร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร แผลลอยจำหน่ายอาหารสด ร้านขายของชำ ฯลฯ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชนเพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
- เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
- เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
- เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
- อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
- ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
127
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านชำ
43
ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร
11
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
56
แผงลอยจำหน่ายอาหารสด
12
โรงครัวโรงเรียน/โรงครัว ศพด.
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
- ร้อยละ 80 ของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
- ร้อยละ 80 ของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
- ร้อยละ 40 ของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแผนการดำเนินงานร่วมกัน
0
0
2. ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร/ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
0
0
3. อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ที่ผ่านการอบรมสามารถตรวจร้านได้
0
0
4. ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วันที่ 2 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
0
0
5. จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 19 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (คน)
0.00
56.00
2
เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste เพิ่มขึ้น
0.00
80.00
3
เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารเพิ่มขึ้น
20.00
80.00
4
เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาวเพิ่มขึ้น
20.00
40.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
254
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
127
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ร้านชำ
43
ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร
11
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
56
แผงลอยจำหน่ายอาหารสด
12
โรงครัวโรงเรียน/โรงครัว ศพด.
5
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (2) เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste (3) เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร (4) เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (3) ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5182-02-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเยาวรัส ชฎารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 ”
ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเยาวรัส ชฎารัตน์
มีนาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5182-02-9 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5182-02-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,325.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 127 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคอาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหารจากอดีตที่มีการจัดหาวัสดุอาหารมาดำเนินการปรุง การประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชน สะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือนหรือการจัดเลี้ยงอาหารในรูปแบบต่างๆ มากมาย ดังนั้นการควบคุม ดูแล ให้การประกอบกิจการการจัดบริการอาหารโดยสถานประกอบการด้านอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสม เน้นความสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค จึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่ปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้ ดังนั้น เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า จึงมีแผนที่จะให้โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 วัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่่เฝ้าทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การตรวจร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร แผลลอยจำหน่ายอาหารสด ร้านขายของชำ ฯลฯ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชนเพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
- เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
- เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
- เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
- อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
- ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 127 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ร้านชำ | 43 | |
ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร | 11 | |
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ | 56 | |
แผงลอยจำหน่ายอาหารสด | 12 | |
โรงครัวโรงเรียน/โรงครัว ศพด. | 5 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
- ร้อยละ 80 ของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
- ร้อยละ 80 ของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
- ร้อยละ 40 ของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแผนการดำเนินงานร่วมกัน
|
0 | 0 |
2. ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร/ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste
|
0 | 0 |
3. อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ที่ผ่านการอบรมสามารถตรวจร้านได้
|
0 | 0 |
4. ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
||
วันที่ 2 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
|
0 | 0 |
5. จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 19 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (คน) |
0.00 | 56.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste เพิ่มขึ้น |
0.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ตัวชี้วัด : ร้อยละของแผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารเพิ่มขึ้น |
20.00 | 80.00 |
|
|
4 | เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาวเพิ่มขึ้น |
20.00 | 40.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 254 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 127 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ร้านชำ | 43 | ||
ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร | 11 | ||
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ | 56 | ||
แผงลอยจำหน่ายอาหารสด | 12 | ||
โรงครัวโรงเรียน/โรงครัว ศพด. | 5 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (2) เพื่อเพิ่มร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste (3) เพื่อให้แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร (4) เพื่อให้ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (3) ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ตรวจประเมินร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) จัดกิจกรรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคอาหารปลอดภัย ปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5182-02-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเยาวรัส ชฎารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......