กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ ปี2564
รหัสโครงการ 64-L5182-02-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อย.น้อย รพ.สต.นาหว้า
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกัญญารัตน์ หมัดหมัน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 32 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนนักเรียน่ที่เป็นเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน
25.00
2 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้ถูกต้อง
0.00
3 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit)ไดู้กต้อง
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ชมรม อย.น้อย ในโรงเรียน รพ.สต.นาหว้า ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ 2564 โดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนร่วมเป็นหูเป็นตาให้ อย.โดยการตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง ทั้งนี้ยังสามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า และมีส่วนร่วมในการช่วยกันตรวจสอบและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประกอบกับ อย.น้อย จะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนการทำหน้าที่ ทำให้การทำงานบางครั้งไม่ต่อเนื่อง เพราะขาดความรู้และทักษะที่จะนำไปปฏิบัติ ดังนั้นชมรมอย.น้อย รพ.สต.นาหว้า จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ 2564 ในพื้นที่รับผิดชอบโดยเพิ่มความรู้และทักษะในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อย.น้อย เพื่อให้โรงเรียนตลอดจนในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนนักเรียนที่เป็นเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

เพิ่มจำนวนนักเรียน่ที่เป็นเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

25.00 80.00
2 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00 85.00
3 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย ใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit) ได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย ใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit) ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 109 27,000.00 5 27,000.00
21 ม.ค. 64 การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในโรงเรียน 0 0.00 0.00
22 ก.พ. 64 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 15 375.00 375.00
25 ก.พ. 64 อบรมให้ความรู้ อย.น้อยในโรงเรียน 94 19,650.00 19,650.00
27 ก.ค. 64 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์และการรณรงค์ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียนและชุมชน 0 6,600.00 6,600.00
17 ส.ค. 64 สรุปผลการดำเนินงาน 0 375.00 375.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

โรงเรียนมีเครือข่ายการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 พ.ย. 2563 10:20 น.