กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ ปี2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

ชมรม อย.น้อย รพ.สต.นาหว้า

1. นางสาวกัญญารัตน์ หมัดหมัน โทร. 08-4322-2019
2. นางจงจิตร จิตอาลัย โทร. 08-1097-5261
3. นางปัทมา หนูทอง โทร. 08-2419-7897
4. นางเยาวรัส ชฎารัตน์ โทร. 08-1093-4187
5. นายกรกวรรษ ชุมมิ่ง โทร. 08-2284-9982

พื้นที่ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนนักเรียน่ที่เป็นเครือข่าย อย.น้อยในโรงเรียน

 

25.00
2 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้ถูกต้อง

 

0.00
3 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit)ไดู้กต้อง

 

0.00

ชมรม อย.น้อย ในโรงเรียน รพ.สต.นาหว้า ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียน ซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ 2564 โดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนร่วมเป็นหูเป็นตาให้ อย.โดยการตรวจสอบ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง ทั้งนี้ยังสามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า ดังนั้น เพื่อให้นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า และมีส่วนร่วมในการช่วยกันตรวจสอบและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประกอบกับ อย.น้อย จะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนการทำหน้าที่ ทำให้การทำงานบางครั้งไม่ต่อเนื่อง เพราะขาดความรู้และทักษะที่จะนำไปปฏิบัติ ดังนั้นชมรมอย.น้อย รพ.สต.นาหว้า จึงได้จัดทำโครงการ อย.น้อย ใส่ใจสุขภาพ 2564 ในพื้นที่รับผิดชอบโดยเพิ่มความรู้และทักษะในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อย.น้อย เพื่อให้โรงเรียนตลอดจนในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 จำนวนนักเรียน่ที่เป็นเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

เพิ่มจำนวนนักเรียน่ที่เป็นเครือข่าย อย.น้อย ในโรงเรียน

25.00 80.00
2 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน อย.น้อยใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00 85.00
3 ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย ใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit) ได้ถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียน อย.น้อย ใช้ชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-Kit) ได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น

0.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน 32
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 375 บาท
    หมายเหตุ...กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย แกนนำ อย.น้อยจากโรงเรียนบ้านเกาะทาก โรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) และโรงเรียนวัดประจ่า
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2564 ถึง 18 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ อย.น้อยในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ อย.น้อยในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรยนแบ่งเป็น 2 รุ่น
รุ่นที่ 1 จำนวน 48 คน ประกอบด้วยโรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 จำนวน 9 คน และครู 2 คน) และโรงเรียนบ้านเกาะทาก (นักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 จำนวน 35 คน และครู 2 คน)
ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 48 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท
3. ค่าชุดอุปกรณ์ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด จำนวน 1 ชุดๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท
4. ค่าสารตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด จำนวน 1 ชุดๆ ละ 2,700 บาท รวมเป็นเงิน 2,700 บาท (1 ชุด ใช้ตรวจได้ 30 ตัวอย่าง)
5. ค่าชุดอุปกรณ์ทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-kit) จำนวน 1 ชุดๆ ละ 500 รวมเป็นเงิน 500 บาท
6. ค่าชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-kit) จำนวน 1 ชุดๆ ละ 250 รวมเป็นเงิน 250 บาท
รุ่นที่ 2 จำนวน 48 คน ประกอบด้วยโรงเรียนวัดประจ่า (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 จำนวน 18 คน และครู 2 คน)ศพด.บ้านเกาะทาก (ุคุณครูพี่เลี้ยงเด็ก จำนวน 1 คน) ศพด.บ้านประจ่า (ุคุณครูพี่เลี้ยงเด็ก จำนวน 1 คน) เจ้าหน้าที่ รพ.สต.นาหว้า จำนวน 8 คน และ อสม.รพ.สต.นาหว้า จำนวน 16 คน
ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 46 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 1,150 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท
3. ค่าชุดอุปกรณ์ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด จำนวน 1 ชุดๆ ละ 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท
4. ค่าสารตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด จำนวน 1 ชุดๆ ละ 2,700 บาท รวมเป็นเงิน 2,700 บาท (1 ชุด ใช้ตรวจได้ 30 ตัวอย่าง)
5. ค่าชุดอุปกรณ์ทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-kit) จำนวน 1 ชุดๆ ละ 500 รวมเป็นเงิน 500 บาท
6. ค่าชุดทดสอบไอโอเดทในเกลือเสริมไอโอดีน (I-kit) จำนวน 1 ชุดๆ ละ 250 รวมเป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 มกราคม 2564 ถึง 22 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวน อย.น้อยที่เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจสามารถเฝ้าระวังฯในโรงเรียนได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19650.00

กิจกรรมที่ 3 การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ทีม อย.น้อยร่วมกับคุณครูในโรงเรียนปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ให้ได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 มกราคม 2564 ถึง 21 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์และการรณรงค์ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียนและชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์และการรณรงค์ความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียนและชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การเผยแพร่และชาสัมพันธ์และการรณรงค์ เพื่อสร้างการรับรู้ ตระหนักและเผยแพร่ประสัมพันธ์
ค่าใช้จ่าย
1. ป้ายไวนิลโรงเรียนขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร จำนวน 15 ผืนๆ ละ 150 บาท รวมเป็นเงิน 4,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ จำนวน 84 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 2,100 บาท
หมายเหตุ...กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักเรียนจากโรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) โรงเรียนบ้านเกาะทาก และโรงเรียนวัดประจ่า

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 กรกฎาคม 2564 ถึง 27 กรกฎาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ เกิดกระแสสังคมและสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6600.00

กิจกรรมที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 15 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 375 บาท

หมายเหตุ...กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย แกนนำ อย.น้อยจากโรงเรียนบ้านเกาะทาก โรงเรียนบ้านนาหว้า (นิคมอุทิศ) และโรงเรียนวัดประจ่า

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 สิงหาคม 2564 ถึง 17 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปผลดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

โรงเรียนมีเครือข่ายการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค


>