กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด


“ โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ ”

ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเพ็ญพิชชา นวลสนอง

ชื่อโครงการ โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ

ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7577-3-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 28 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L7577-3-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 28 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปีพุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ 2.2.2 จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแลสุขภาพความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน ตามแผนยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8.1 พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตราฐานการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง เห็นว่าปัญหาเด็กจมน้ำเสียชีวิต จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค หลังปี 2560 พบเด็กจมน้ำเสียชีวิตตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปถึง 15 เหตุการณ์ หรือ ร้อยละ 71.4 ของเหตุการณ์เด็กจมน้ำทั้งหมด โดยเฉพาะช่วงกำลังเข้าสู่ฤดูร้อน ซึ่งในช่วงดังกล่าวนั้นจะพบเด็กจมน้ำเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก โดยสาเหตุหลักเกิดจากชวนกันไปเล่นน้ำเป็นกลุ่ม และเด็กขาดทักษะในการเอาตัวรอดในน้ำ รวมถึงการช่วยเหลือที่ถูกต้อง การดำเนินการโครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ เป็นโครงการที่สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง หมายถึง สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” ต้องให้เด็กเรียนรู้กฎความปลอดภัยทางน้ำ รู้จักการช่วยด้วย การใช้มาตรการ “ตะโกน โยน ยื่น” คือ 1. ตะโกน การเรียกให้ผู้ใหญ่มาช่วย 2. โยนอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวเพื่อช่วยคนตกน้ำเกาะ จับ พยุงตัว เช่น ถัง แกลลอนพลาสติกเปล่า หรือวัสดุที่ลอยน้ำได้ โดยโยนครั้งละหลาย ๆ ชิ้น 3. ยื่นอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ไม้ เสื้อ ผ้าขาวม้าให้คนตกน้ำจับและดึงขึ้นมาจากน้ำ เป็นต้น และให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดถึงวิธีป้องกันอันตรายจากน้ำที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
  2. เพื่อให้เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ รู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
  2. ผู้ปกครอง,บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และสามารถปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำได้
10.00 2.00

 

2 เพื่อให้เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% รู้ถึงวิธีการปฏิบัติให้ตัวเองปลอดภัยจากการจมน้ำ
20.00 5.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก และปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง, บุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 95% มีวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ สามารถปฏิบัติตามที่รับการอบรมมาได้และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจและปฏิบัติตามได้
10.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 268
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 268
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ (2) เพื่อให้เด็กรู้ถึงความปลอดภัยเมื่ออยู่ใกล้แหล่งน้ำ (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง,บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด รู้ถึงวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก  และปฏิบัติตาม และถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับการอบรมมาให้กับผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กไทยไม่จมน้ำ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L7577-3-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเพ็ญพิชชา นวลสนอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด