กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ


“ โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3 ”

ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกรุณา วิสโยภาส

ชื่อโครงการ โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3

ที่อยู่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3355-2-6 เลขที่ข้อตกลง 06/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3355-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะอ้วนหรือโรคอ้วน มีโอกาสเกิดขึ้นกับบุคคลได้ทุกคน ในปัจจุบันยังไม่สามารถบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยงที่แท้จริงของการเกิดภาวะอ้วนได้ อย่างไรก็ตามปัจจัเสี่ยงที่น่าจะเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะอ้วน ได้แก่ การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง มีพลังงานสูง วิถีชีวิตนั่ง ๆ นอน ๆ ขาดกิจกรรมทางกาย ประวัติความอ้วนในครอบครัว อายุที่มากขึ้น รวมท้้งการสูบบุหรี่ และจากนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีนโยบายบริหารระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคอ้วนให้ครอบคลุมเพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี อีกทั้งจจากการคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพในปี 2563 พบว่าประชาชนในตำบลท่ามิหรำ มีภาวะความเสี่ยงของโรคอ้วนเป็นจำนวนมากถึงร้อยละ 42.75 และจากผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในปี 2563 ในกลุ่มที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง สามารถลดความเสี่ยงลงได้มากกว่าร้อยละ 50 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าประชาชนสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองได้ถ้ามีความตั้งใจจริง เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนขึ้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ ร่วมกับ รพ.สต.บ้านน้ำเลือดกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ท่ามิหรำ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรค ลดพุง หุ่นดี ปี 3 เพื่อสร้างความตระหนักถึงอัตรายที่เกิดจากโรคอ้วน ซึ่งอาจจะำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่น ๆ ตามมา เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง รวมทั้ส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันโรคอ้วนและการมีสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
  3. เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตามค่าดัชนีมวลกาย ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตรวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสมตามเกณฑ์
  4. เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบ ลดพุง ลดโรค หุ่นดี(สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคได้มากกว่าร้อยละ 40) สามารถเป็นแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในตำบลท่ามิหรำได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี
  2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี
  3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต ได้รับการพัฒนาความรู้ด้านอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการด้านอารมณืที่เหมาะสม
  2. กลุ่มเสี่ยงรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคได้อย่างน้อยร้อยละ 20 และมีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สามาถลดความเสี่ยงต่อโรคลงได้มากกว่า ร้อย
    ละ 40
  3. มีบุคคลต้นแบบ "ลดโรค ลดพุง หุ่นดี" จากกิจกรรมกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย ร้อยละ 20

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ     รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ กำหนดวันจัดทำโครงการ
  2. ดำเนินการโครงการ     ประเมินค่าดัชนีมวลกาย     นัดเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาล ไขมันในเลือดฯ ชั่งน้ำหนักวัดสัดส่วน     และดำเนินการเข้าร่วมโครงการตามตารางที่กำหนดไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมชี้แจงรายละเอียดโครงการ   ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ..54...คน   ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจการดำเนินการ  ผลการชั่งน้ำหนักก่อนเริ่มโครงการ
  ปกติ 11  น้ำหนักเกิน  42 ต่ำกว่าเกณฑ์ 1   หลังโครงการ ปกติ 13 น้ำหนักเกิน 40 ต่ำกว่าเกณฑ์ 1

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
40.00 20.00

 

2 เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : จำนวนคนกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการพัมนาด้านความรู้
200.00 100.00

 

3 เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตามค่าดัชนีมวลกาย ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตรวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสมตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคลงได้อย่างน้อยร้อยละ 20 ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
200.00 50.00

 

4 เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบ ลดพุง ลดโรค หุ่นดี(สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคได้มากกว่าร้อยละ 40) สามารถเป็นแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในตำบลท่ามิหรำได้
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบ "ลดโรค ลดพุง หุ่นดี " จากกิจกรรมกลุ่มปรับเปลี่นพฤติกรรมฯ อย่างน้อยร้อยละ 40 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
200.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อพัฒนาให้กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีการเรียนรู้อย่างถูกต้องในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม (3) เพื่อควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตามค่าดัชนีมวลกาย ค่าน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตรวมทั้งควบคุมภาวะไขมันในเลือดและมีรอบเอวที่เหมาะสมตามเกณฑ์ (4) เพื่อให้มีบุคคลต้นแบบ ลดพุง ลดโรค หุ่นดี(สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคได้มากกว่าร้อยละ 40) สามารถเป็นแกนนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในตำบลท่ามิหรำได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี (2) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สู่การลดโรค ลดพุง หุ่นดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดโรคลดพุงหุ่นดี ปี 3 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3355-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกรุณา วิสโยภาส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด