กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่


“ โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ”

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุมาริน แก้วทองราช

ชื่อโครงการ โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่

ที่อยู่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5193-03-001 เลขที่ข้อตกลง 004/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5193-03-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,875.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีเด็กเล็กระดับก่อนวัยเรียน เป็นสิ่งสำคัญมากเพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตในทุกด้านคือทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาการบริการอาหารกลางวันเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญยิ่งสำหรับเด็กเล็ก เพราะการรับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีการจัดทำอาหารกลางวันที่มีรสชาติพอดี ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัดและไม่ใส่สารปรุงรสและมีอย่างเพียงพอต่อความต้องการบริโภคอาหาร จะทำให้เด็กเล็กมีสุขภาพดีและแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เมื่อเด็กเล็กมีสุขภาพและพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงย่อมส่งผลให้เด็กเล็กเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กเล็กให้มีพัฒนาการเรียนที่ดีขึ้นช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ในฐานะเป็นผู้มีหน้าที่ในการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อช่วยสนับสนุนให้เด็กๆ อายุ 2-6 ขวบ ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับอาหารกลางวันที่มีรสชาติพอดี ไม่หวานจัด ไม่เค็มจัดและไม่ใส่สารปรุงรสที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างครบถ้วนและเหมาะสมกับวัย อีกทั้งยังเป็นการแบ่งเบาภาระพ่อแม่ที่ไม่มีเวลาดูแลเด็กได้อย่างเต็มที่ และนอกจากนั้นยังจัดการอบรมเพื่อให้ความรู้แก่ครู ผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ตามศูนย์เด็กเล็กต่างๆ ตลอดจนพ่อแม่ ผู้ปกครอง เกี่ยวกับหลักโภชนาการ พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารกลางวันและภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่ จะต้องเนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๐หมวด ด บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับพะราชกิจจานุเบกษาประกาศ คณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ เรื่องบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ. ๒๕๕๗ กิจกรรมบริการสาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะตามประกาศแนบท้าย ลงวันที่ มีนาคม ๒๕๕๗ ข้อ ๓ กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชนและระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนตำบลวังใหญ่ เรื่องการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๖๑ ข้อ ๑๐ (๑) ผลการดำเนินโครงการฯประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดคลองยอ พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน ๔๐ คน มีน้ำหนักและส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ ๑๐ นักเรียนที่รับประทานอาหารกลางวันเหลือ ร้อยละ ๖๐ นักเรียนที่ชอบทานขนมขบเคี้ยว ลูกอมรสหวานและเครื่องดื่มที่มีรสหวานไม่มีประโยชน์ ร้อยละ ๘๐ ซึ่งนับเป็นโครงการฯที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารของเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดคลองยอซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ มีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่ดีมีคุณค่าทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มีพัฒนาการสมวัยมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญา ฉลาดสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเพิ่มขึ้น
  2. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ทานขนมขบเคี้ยวลูกอมรสหวานและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เป็นประจำ
  3. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
  4. เพื่อเพิ่มผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ครูและผู้รับผิดงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่
  2. ให้ความรู้เด็กผู้ปกครอง และแม่ครัว ด้านโภชนาการ และสาธิตการทำอาหารดีมีประโยชน์
  3. ปีศาจขนมหวาน
  4. ชวนน้องออกกำลังกาย
  5. ออกกฎกติกา ในโรงเรียน
  6. ติดตามประเมินผลโครงการฯ
  7. คืนข้อมูลโครงการอาหารดีมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ให้กับผู้ปกครอง
  8. สำรวจข้อมูลพื้นฐานภาวะโภชนาการในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง 40
แม่ครัว 1

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางสารอาหารร้อยละ 100
  2. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ 100
  3. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้องร้อยละ 100
  4. เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ รับประทาอาหารกลางวันเหลือลดลง ร้อยละ 30
  5. มีการโดยใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านวังใหญ่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนที่รับประทานอาหารกลางวันเหลือลดลง
60.00 30.00

 

2 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ทานขนมขบเคี้ยวลูกอมรสหวานและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กนักเรียนเลิกรับประทานขนมขบเคี้ยวลูกอมรสหวานและเครื่องดื่มรสหวานไม่มีประโยชน์
80.00 0.00

 

3 เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละนักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
10.00 0.00

 

4 เพื่อเพิ่มผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการเด็กเพิ่มขึ้น
20.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 40
แม่ครัว 1

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเพิ่มขึ้น (2) เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่ทานขนมขบเคี้ยวลูกอมรสหวานและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เป็นประจำ (3) เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (4) เพื่อเพิ่มผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ครูและผู้รับผิดงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ (2) ให้ความรู้เด็กผู้ปกครอง และแม่ครัว ด้านโภชนาการ และสาธิตการทำอาหารดีมีประโยชน์ (3) ปีศาจขนมหวาน (4) ชวนน้องออกกำลังกาย (5) ออกกฎกติกา ในโรงเรียน (6) ติดตามประเมินผลโครงการฯ (7) คืนข้อมูลโครงการอาหารดีมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ ให้กับผู้ปกครอง (8) สำรวจข้อมูลพื้นฐานภาวะโภชนาการในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารดีมีคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5193-03-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุมาริน แก้วทองราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด