กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ”

ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1523-3-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2020 ถึง 30 กันยายน 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1523-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2020 - 30 กันยายน 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปีมากกว่าร้อยละ ๖๐ เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เด็กก่อนวัยเรียนจำนวนกว่า ๗๐๐,๐๐๐ คน (ประชากรเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปีประมาณ ๓.๙ ล้านคน เด็ก ๑ - ๔ ปีประมาณ ๓.๒ ล้านคน) ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ใน ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วย จะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย ซึ่งโรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้า ปากโรค และโรคทางเดินอาหาร เป็นต้น ส่งผลกระทบ ต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน ค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญ กับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วย ลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน แล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคตข้อมูลในส่วนของการเกิดโรคติดต่อของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร ตั้งแต่ปี 2561 – 2563 การเกิดโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือเท้าปาก ดังนี้
โรคไข้หวัด และโรคไข้หวัดใหญ่ ในปี 2561 – 2563 เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นโรคไข้หวัด และไข้หวัดใหญ่ ที่ขาดเรียนต่อเนื่องบ่อยครั้งเฉลี่ย มีจำนวนประมาณ 10 คน
โรคมือเท้าปาก ในปี 2561 พบว่า เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร เป็นโรคมือเท้าปาก จำนวนประมาณ 10 คน ได้ปิดการเรียนการสอน จำนวน 3 ครั้ง ในปี 2562 พบว่า เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร เป็นโรคมือเท้าปาก จำนวน 5 คน ได้ปิดการเรียนการสอน จำนวน 1 ครั้ง และในปี 2563 พบว่า เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร เป็นโรคมือเท้าปาก จำนวน 2 คน และไม่มีการปิดการเรียนการสอนเนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชรสามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้
โรคทางเดินอาหาร ในปี 2561 – 2563 เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นโรคทางเดินอาหาร เช่น    โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เฉลี่ย มีจำนวนประมาณ 5 คน ทั้งนี้ ครูและบุคลากรในศูนย์ฯ ส่งเสริมการล้างมือด้วยสบู่และเจลล้างมืออย่างถูกวิธี ให้กับนักเรียนเป็นประจำ ตลอดจนเกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในปี 2563 เนื่องจากต้องปฏิบัติตามมาตรการการควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  จึงทำให้ช่วยลดการเจ็บป่วยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดจำนวนลง เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพระยะยาว ผ่านการที่เด็กๆ ครู ผู้ปกครอง มีทักษะความรู้ ความเข้าใจถูกต้อง ในเรื่องของการดูแลสุขภาพเด็ก และการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆ เพื่อให้เด็กปฐมวัยลดความเจ็บป่วยให้สามารถเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกาย และพัฒนาการเรียนรู้อย่างสมวัย  เนื่องจากถ้าเด็กเล็กเจ็บป่วยจะเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็ก ทำให้มีพัฒนาการต่างๆล่าช้า เช่น ร่างกายเจริญเติบโตช้าอันเนื่องมาจากโรคบางชนิด อารมณ์ไม่ร่าเริงสดใส เข้าโรงพยาบาลบ่อยทำให้ไม่มีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในวัยเดียวกันเพราะถูกจำกัดเรื่องการเล่น ทำให้เด็กไม่สามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ไม่เต็มที่ นอกจากการส่งเสริมทักษะการดูแลและป้องกันสุขภาพของเด็กนักเรียนเบื้องต้นแล้ว การเสริมสร้างความความร่วมมือจากผู้ปกครองทุกคนมีส่วนสำคัญ ในการลดการระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวเหล่านี้ โดยโรคติดต่อบางประเภทมีหลากหลายเชื้อไวรัสที่รุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไป ตามสภาพความแตกต่างของพื้นที่ที่เชื้อโรคแพร่กระจาย การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่องจึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะสร้างความตระหนักในการป้องกันอันตรายที่อาจรุนแรงต่อร่างกายของเด็กได้ ดังนั้นจำเป็นต้องมีผู้ที่มีความชำนาญเฉพาะทางในด้านโรคติดต่อเพื่อแนะนำหลักในการปฏิบัติตน และหลักการปฏิบัติการป้องกันและรักษาโรคติดต่อเบื้องต้น ร่วมทั้งหลักการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคติดต่อ ประกอบกับโรคที่กำลังแพร่ระบาดซึ่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องปฏิบัติตามมาตรการในการควบคุมอยู่ขณะนี้ คือ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงจำเป็นต้องหาวิธีการเพื่อควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของเด็ก จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็ก เพื่อส่งเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคติดต่อที่อาจเกิดขึ้นกับ เด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก และโรคทางเดินอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (1) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักความสะอาด ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอน และลดการแพร่ระบาดการกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อ เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อเบื้องต้นด้วยตนเอง (4) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมหนูน้อยมือสะอาด
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมป้ายนิเทศเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็ก
  3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมหน้ากากอนามัยสร้างสรรค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 116
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 เด็กนักเรียนสามารถล้างมือได้ด้วยตนเอง มีสุขภาพแข็งแรง และลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค
9.2 ผู้ปกครองนักเรียนร่วมมือกันในการป้องกันและรักษาโรคติดต่อเบื้องต้นได้อย่างถูกวิธี
9.3 เด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการมาเรียนอย่างสม่ำเสมอ และมีพัฒนาที่ดี เหมาะสมตามวัย 9.4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชรสามารถควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นไปตามแผนงานโครงการและวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุ้มค่ากับการใช้จ่ายในการดําเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (1) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักความสะอาด ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอน และลดการแพร่ระบาดการกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อ เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อเบื้องต้นด้วยตนเอง (4) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)
ตัวชี้วัด : ด้านปริมาณ - ร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กล้างมือได้ด้วยตนเอง มีสุขภาพแข็งแรง และลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค - ร้อยละ 90 ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการมาเรียนอย่างสม่ำเสมอ และมีพัฒนาที่ดี เหมาะสมตามวัย ด้านคุณภาพ - เด็กและผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร มีทักษะในการป้องกันและรักษาโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถควบคุมการระบาดของโรคติดต่อได้ กลุ่มเป้าหมาย (ระบุกลุ่มเป้าหมาย และจำนวนคน) - เด็กนักเรียนและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร จำนวน 115 คน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 116
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (1) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักความสะอาด ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอน และลดการแพร่ระบาดการกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อ เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง  สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน  (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีทักษะในการป้องกันโรคติดต่อเบื้องต้นด้วยตนเอง  (4) เพื่อเสริมสร้างความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ วิธีการปฏิบัติตน และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันและรักษาโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เช่น โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมหนูน้อยมือสะอาด (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมป้ายนิเทศเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็ก (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก โรคทางเดินอาหาร และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมหน้ากากอนามัยสร้างสรรค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

รหัสโครงการ 64-L1523-3-04 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2020 - 30 กันยายน 2021

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1523-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด