กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564 ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L8406-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุจัดเป็นโรคติดต่อ เพราะเกิดจากเชื้อโรค และติดต่อกันได้ทางน้ำลาย โดยกระบวนการเกิดโรค จำเป็นจะต้องมีองค์ประกอบสำคัญ 3 อย่างด้วยกัน ได้แก่ ตัวฟัน เชื้อจุลินทรีย์ และสภาวะความเป็นกรดภายในช่องปาก การที่ฟันผุ หรือเหงือกอักเสบนั้น ต้องใช้เวลานานกว่าจะแสดงอาการ สิ่งที่จะมาเสริมสร้างความแข็งแรงของฟันได้ จะต้องดูแลรักษา และรับประทานอาหารให้ถูกต้อง ตั้งแต่เริ่มแรก และเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ
เด็กประถมศึกษาถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก เพราะเป็นช่วงวัยที่เริ่ม มีการเปลี่ยนแปลงชุดฟันในช่องปากจากฟันน้ำนมเป็นฟันถาวร ฟันที่เริ่มขึ้นมาในช่องปาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟันกรามถาวรซี่แรกที่ขึ้นเมื่อเด็กอายุประมาณ 6 ปี จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสูงมาก เพราะการสะสมแร่ธาตุที่ผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และเด็กยังไม่สามารถแปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ ที่สำคัญคือช่วงวัยนี้ เป็นช่วงวัยของการพัฒนาวินัย บุคลิกภาพ และพฤติกรรม เป็นช่วงวัยที่เหมาะสมแก่การฝึกทักษะ และปลูกสร้างลักษณะนิสัยที่ดีให้เกิดขึ้น เป็นช่วงเวลาทองของการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งต้องมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยเน้นคุณภาพ สำหรับสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก ได้แก่ การรู้จักดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเป็นกิจวัตรด้วยการแปรงฟัน และการบริโภคอาหาร ที่เหมาะสม
ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นพื้นที่ที่พบปัญหาโรคฟันผุในเด็กประถมศึกษา จากข้อมูลการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ตั้งแต่ปี 2560 ถึง 2563 พบว่าเด็กอายุ 6-12 ปี มีฟันแท้ผุเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 33.75 35.67 52.23 และ53.88 ตามลำดับ ซึ่งในปี 2563 พบฟันแท้ผุมากในเด็กอายุ 6 9 และ12 ปี คิดเป็นร้อยละ15.33 21.43 และ 35 ตามลำดับ ทั้งนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดนได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างจริงจังตามบริบทและวิถีการดําเนินชีวิตในพื้นที่ และเพื่อให้เด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กสามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี ตลอดจนปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในด้านสุขภาพช่องปาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
  2. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
  3. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  2. กิจกรรมหมอน้อยรู้ทันฟันผุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 306
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ85 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 - 6 มีทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และมีค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque Index)ลดลง
  2. ร้อยละ 50 ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6ได้รับการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ในเด็กวัยเรียน (4-12 ปี) และเคลือบหลุมร่องฟันในเด็กวัยเรียน (ุ6-12 ปี)
  3. นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก หลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง
70.00 85.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของนักเรียนได้รับการเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ (4-12 ปี) และได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน (ุ6-12 ปี)
35.00 50.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก หลังการอบรม มากกว่าร้อยละ 80
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 306
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 306
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index)ลดลง (2) เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟัน และเคลือบ/ทาฟลูออไรด์เฉพาะที่ (3) เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความรู้ที่ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคในช่องปาก และการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (2) กิจกรรมหมอน้อยรู้ทันฟันผุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและเฝ้าระวังทันตสุขภาพในเด็กชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด