กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ


“ โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564 ”

ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางซาลือมา มะยูนุ

ชื่อโครงการ โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2537-02-08 เลขที่ข้อตกลง 16/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2537-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนพัฒนาเศรษฐ์กิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่10( พ.ศ.2550-2554 )ได้ให้ความสำคัญกับพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมและนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยบรรจุเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพคน คือ “ลดอัตราการเพิ่มของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ 5 อันดับโรคแรก คือ หัวใจความดันโลหิตสูงเบาหวานมะเร็ง หลอดเลือดสมอง และภาวะอ้วนลงพุง เพื่อนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานและลดรายจ่ายด้านสุขภาพ” เนื่องจากมีปัจจัยสาเหตุครอบคลุมทั้งเรื่องของพฤติกรรมการบริโภคปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิต โรคไม่ติดต่อเป็นโรคเรื้อรังที่ป้องกันได้โดยประชาชนจะต้องดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเช่น พฤติกรรมการบริโภค/การควบคุมน้ำหนักการออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และควบคุมความเครียดนอกจากนี้การดูแลสุขภาพตนเองด้วยการคัดกรองภาวะสุขภาพเช่น การตรวจวัดระดับความดันโลหิตการคัดกรองสหปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค อัมพฤษ์ อัมพาตการวัดรอบเอว การวัดค่าดัชนีมวลกาย เพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดรวมทั้งการตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งโดยเฉพาะในปีงบประมาณนี้ ทางกระทรวงสาธารณสุข และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานนโยบายการคัดกรอง ได้ให้มีการเร่งรัดคัดกรองประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไปซึ่งเป็นกลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคเรื้อรังกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วไปเป็นส่วนใหญ่ และมักไม่ทราบว่าตนเองมีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าว เนื่องจากไม่มีอาการแสดงให้ทราบ ผู้ป่วยมักจะได้รับการวินิจฉัยอาการป่วยจากแพทย์ เมื่อมีภาวะแทรกแล้วซึ่งภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตและสร้างภาระต่างๆ ต่อครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติที่ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยอย่างมหาศาลวิธีการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพเชิงรุกในหมู่บ้าน/ชุมชน ถือเป็นวิธีการที่สำคัญอย่างยิ่งในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง และเป็นการค้นหาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน ฯลฯ ในระยะเริ่มต้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปและประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเรื้อรัง ได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคดังกล่าวดังนั้นทางชมรมอามาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะจึงได้จัดทำโครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกล เบาหวาน-ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ตำบลมูโนะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน/โรคหัวใจและหลอดเลือดตลอดจนตระหนักและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน
  2. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ระยะเริ่มต้น ร้อยละ50ของกลุ่มเสี่ยงสูง (pre-DM, pre-HTและอ้วนลงพุง) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส. และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  3. เพื่อให้กลุ่มป่วยและผู้ดูแลมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 40 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับความดันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง/หัวใจและหลอดเลือด และให้ความรู้ในรูปแบบคลินิกสัญจร หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ
  2. ป่วยอย่างมีสุข ห่างไกลภาวะโรคแทรกซ้อน หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ
  3. กลุ่มเสี่ยงรวมใจ ต้านภัยโรค NCD ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก DPAC หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มป่วย HT DM 20
กลุ่มเสี่ยงต่อ HT DM 20
ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 500

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในหมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคความดัน/เบาหวาน/อัมพฤษ์/อัมพาตโรคอ้วนลงพุงและหลอดเลือดหัวใจ
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปในทางที่ถูกต้อง ตามกระทรวงสาธารณสุขกำหนด
  3. ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังในหมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง/หัวใจและหลอดเลือด และให้ความรู้ในรูปแบบคลินิกสัญจร หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ

วันที่ 28 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินโครงการ
  2. แบ่งงานความรับผิดชอบ อสม. แต่ละโซน จำนวน 5 โซน
  3. จัดเตรียมเอกสารโครงการ และจัดซื้อเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
  4. ดำเนินงานตามทโครงการ ในวันที่ 28-31 ธันวาคม 2563 กิจกรรมการรณรงค์คัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หัวใจและหลอดเลือด ณ หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
  5. รวบรวมวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินการ
  6. รายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผลการคัดกรองเบาหวานปกติ คิดเป็นร้อยละ 99.20
  2. ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูงปกติ คิดเป็นร้อยละ 99.20

 

500 0

2. กลุ่มเสี่ยงรวมใจ ต้านภัยโรค NCD ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก DPAC หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ

วันที่ 17 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. หลังการเสร็จสิ้นกิจกรรม การรณรงค์คัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้น เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานและโรคอ้วนในชุมชน
  2. ทำการส่งข้อมูลการคัดกรองให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต. เพื่อคัดกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เรียกกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ในวันที่ 17 มิถุนายน 2564 ณ รพ.สต. มูโนะ ต.มูโนะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
  4. หลังจากมีการประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบประเมิน แจกเอกสารความรู้และการอบรมให้ความรู้ โดย วิทยากร จำนวน 2 ท่าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานสรุปกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง DPAC พบว่า       - ผู้เข้าร่วมมาเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ  100       - ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ เพิ่มขึ้นจากเดิมทุกคน จากการทำแบบประเมิน คิดเป็นร้อยละ 100       - ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม

 

20 0

3. ป่วยอย่างมีสุข ห่างไกลภาวะโรคแทรกซ้อน หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ

วันที่ 19 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินกิจกรรม ระหว่าง อสม. และทีมเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ดดยขอรายชื่อกลุ่มผู้ป่วยจากทะเบียนการรักษาจาก รพ.สต.มูโนะ จำนวน 10 คน ที่อาจจะมีแนวโน้มเกิดภาวะแทรกซ้อนและผู้ดูแล จำนวน 10 คน
  2. นำรายชื่อผู้ป่วยที่ได้ไปสำรวจ และค้นหาภาวะเสี่ยงที่อาจจะเป็นภาวะแทรกซ้อนในอนาคต
  3. ดำเนินการตามแผนกิจกรรม ประสานวิทยากรผู้มีความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดการอบรม จำนวน 2 ท่าน
  4. จัดอบรมให้ความรู้ ในวันที่่ 19 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุม รพ.สต.มูโนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานและสรุปกิจกรรมในกลุ่มผู้ป่วยและผู้ดูแล พบว่า
    - ผู้เข้าร่วมมาเข้าร่วมกิจกรรมในการอบบรม มาร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 100     - ผุ้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ เพิ่มขึ้นจากเดิมรวมถึงผู้ดูแล จากการซักถามและตอบคำถามเป็นจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 85

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการคัดกรองเบาหวานปกติ คิดเป็นร้อยละ 99.20
  2. ผลการคัดกรองความดันโลหิตสูงปกต คิดเป็นร้อยละ 99.20

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน/โรคหัวใจและหลอดเลือดตลอดจนตระหนักและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป 90 เปอร์เซ็นต์ ได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น และได้รับความรู้ในปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคความดัน/เบาหวาน
994.00 950.00

 

2 เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ระยะเริ่มต้น ร้อยละ50ของกลุ่มเสี่ยงสูง (pre-DM, pre-HTและอ้วนลงพุง) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส. และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองความดัน /เบาหวาน ที่พบภาวะเสี่ยง ได้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดภาวะการณ์เกิดโรคความดัน/ เบาหวานและ อ้วนลงพุง ร้อยละ 50และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
90.00 60.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มป่วยและผู้ดูแลมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 40 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับความดันได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มป่วยและผู้ดูแลมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 40 และกลุ่มป่วยความดันสามารถควบคุมระดับความดันได้ร้อยละ 50
203.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 540
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มป่วย HT DM 20
กลุ่มเสี่ยงต่อ HT DM 20
ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 500

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ติดต่อความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน/โรคหัวใจและหลอดเลือดตลอดจนตระหนักและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองครอบครัวและชุมชนร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน (2) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ระยะเริ่มต้น ร้อยละ50ของกลุ่มเสี่ยงสูง (pre-DM, pre-HTและอ้วนลงพุง) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ2ส. และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยและผู้ดูแลมีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 40 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับความดันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง/หัวใจและหลอดเลือด และให้ความรู้ในรูปแบบคลินิกสัญจร หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ (2) ป่วยอย่างมีสุข ห่างไกลภาวะโรคแทรกซ้อน หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ (3) กลุ่มเสี่ยงรวมใจ ต้านภัยโรค NCD ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก DPAC                    หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCD หมู่ที่ 5 บ้านบูเกะ ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2537-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซาลือมา มะยูนุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด