กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรัง Metabolic ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต
รายงานข้อมูลสุขภาพเขต 12 สงขลา ปี 2563 พบว่า  ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  มีผู้ป่วย โรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 618 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 56 คน ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1C ประเมินการควบคุมระดับน้ำตาล จำนวน 483 คน พบว่าค่า HbA1C อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้คือ น้อยกว่า 7% จำนวน 158 คน คิดเป็นร้อยละ 25.57 ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานมารับการรักษาที่คลินิกโรคเรื้อรังที่ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 110 คน พบว่า  ควบคุมระดับน้ำตาลสะสม ( HbA1C ) ไม่ได้ คือ มีค่า HbA1C มากกว่า 7% จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 63.64 และควบคุมระดับน้ำตาลสะสม ( HbA1C ) ได้ คือมีค่า HbA1C น้อยกว่ากว่า 7% จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 36.36
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว  จึงได้จัดทำ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวาน  ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564 ขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานเกิดความตระหนัก และเพิ่มศักยภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานที่จะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองป้องกันโรคแทรกซ้อนและตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทางตา ไต เท้า อันจะทำให้เกิดความพิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 1
  3. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 2
  4. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจ  และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมกิจกรรม  สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้  สามารถป้องกันและ/หรือลดการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวานที่มาร่วมกิจกรรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 22 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงะเบียน
  • พิธีเปิด
  • บรรยายเรื่อง สถานการณ์ของโรคและโรคเบาหวานกับภาวะแทรกซ้อน
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง หลักการรักษาและเกณฑ์การควบคุมโรคเบาหวาน
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ/แลกเปลี่ยนรียนรู้ 4 ฐาน
  • อภิปราย/สรุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง สถานการณ์ของโรคและโรคเบาหวานกับภาวะแทรกซ้อนและหลักการรักษาและเกณฑ์การควบคุมโรคเบาหวาน ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรม 60 คน โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมเข้าฐานเรียนรู้ 4 ฐาน โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  3. การประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอบรมตามโครงการฯ จากผู้ประเมิน 59 คน

 

60 0

2. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 1

วันที่ 25 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง อาหารแลกเปลี่ยนในผู้ป่วยเบาหวาน
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • อภิปราย/สรุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานด้วยการให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้...อาหารแลกเปลี่ยนในผู้ป่วยเบาหวาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง

 

20 0

3. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 2

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง เรียนรู้การจัดการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและสูงของผู้ป่วยโรคเบาหวานและสาธิตการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • อภิปราย/สรุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานด้วยการให้ความรู้เรื่อง การจัดการภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและสูงของผู้ป่วยเบาหวาน และสาธิตการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว มีผู้เข้าร่วมจำนวน 20 คน

 

20 0

4. กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 3

วันที่ 25 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง เรียนรู้...การดูแลและเยียวยาตนเองด้วยสมาธิบำบัด SKT ท่า 1-4
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง เรียนรู้...การดูแลและเยียวยาตนเองด้วยสมาธิบำบัด SKT ท่า 5-7
  • อภิปราย/สรุปผลการเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เสริมพลังผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยการให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดูแลและเยียวยาตนเองด้วยสมาธิบำบัด SKT ท่า 1-7 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 20 คน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองป้องกันโรคแทรกซ้อนและตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทางตา ไต เท้า อันจะทำให้เกิดความพิการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองป้องกันโรคแทรกซ้อนและตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทางตา ไต เท้า อันจะทำให้เกิดความพิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C  มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 1 (3) กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C  มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 2 (4) กิจกรรมติดตามเสริมพลังผู้ป่วยที่มีค่าระดับ HbA1C  มากกว่า 7mg % ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับเปลี่ยน ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด