กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด


“ อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิมย์พา จันทร์แก้ว

ชื่อโครงการ อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5258-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5258-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วย เสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ ให้มีการป้องกัน ควบคุม ไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคของภาครัฐและเอกชน อยู่เป็นประจำ แต่ก็ไม่สามารถทำให้โรคนี้หมดไปจากสังคมไทยของเราได้เลย การรณรงค์ให้ประชาชนร่วมกัน กำจัดยุงลายโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคได้ ไม่ว่า จะเป็นการทำลายภาชนะที่มีน้ำขัง การใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำ หรือการพ่นหมอกควัน   ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน ซึ่งดูแลสุขภาพอนามัยประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3,4,6 และ 7 ตำบลบ้านโหนด ได้รับแจ้งข่าวจากทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในปีที่ 3 หลังจากการระบาดโรคไข้เลือดออกจะกลับมาระบายอีกครั้ง ในเดือนธันวาคม 2563 เป็นต้นมา พบว่า มีประชาชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน กลุ่มสงสัยจำนวน 46 ราย ยืนยันวินิจฉัยเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 26 ราย ระบาดต่อเนื่อง เพื่อเป็นการการป้องกัน ดูแลไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งในปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล จึงจำเป็นต้องมีการเริ่มดำเนินการให้รวดเร็ว ให้ทันต่อสภาวการณ์แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยปีงบประมาณ 2564 ได้มีผู้เจ็บป่วยที่เกิดจากยุงลาย เจ็บป่วยด้วยโรคซิก้า จำนวน 1 รายซึ่งมีผลกระทบกับทารกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์   เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนากัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาโดยการออกพ่นหมอกควันครอบคลุมในพื้นที่ที่อยู่ในการดูแลทั้งหมด เพื่อเป็นการกำจัดยุงลายไม่ให้ สามารถไปแพร่เชื้อหรือขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ซึ่งเป็นวิธีการยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
  2. เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์
  2. การพ่นหมอกควันกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้
  2. สามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ลดการเพิ่มจำนวนประชากรลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้
  3. ประชาชนมีความเข้าใจเกิดความร่วมมือในวิธีการพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
ตัวชี้วัด : สำรวจค่า HI CI ในชุมชนลดลง มีค่าไม่เกิน 10
0.00

 

2 เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก (2) เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ (2) การพ่นหมอกควันกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อาสาร่วมใจ ห่วงใย ต้านภัยร้ายไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5258-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิมย์พา จันทร์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด